งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประโยชน์สุขของประชาชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประโยชน์สุขของประชาชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประโยชน์สุขของประชาชน
28 พฤศจิกายน 2555

2 ผู้นำ นายอำเภอ คือ หัวหน้า ปกครอง บังคับบัญชา และบริหารราชการของอำเภอ
รับผิดชอบงานของ 10 กระทรวง ที่มา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอ จัดทำโดย ส่วนงานนิติการ สํานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

3 หัวข้อ แผน การพัฒนาระบบราชการ

4 ใช้แผนเป็นเครื่องมือ
จากแผนการบริหารราชการแผ่นดิน สู่ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และประจำปี แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี มิติภารกิจหน้าที่งาน มิติพื้นที่ มิติวาระ บูรณาการ แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลลัพธ์สุดท้าย ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร ผลลัพธ์

5 การควบคุมการปฏิบัติราชการตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน
 การควบคุมการปฏิบัติราชการตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน

6 หัวข้อ แผน การพัฒนาระบบราชการ

7 การพัฒนาระบบราชการ แนวคิด การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน
- บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ - จากวิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์สู่การนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล การปรับปรุงการให้บริการประชาชน การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและวัฒนธรรมของข้าราชการ + การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานของภาครัฐ

8 แนวคิด แนวคิด พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2550) Rule of law

9 แนวคิด ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และ ยึดประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก
คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า และเปิดมุมมองให้กว้าง บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ ทำงานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทำ ท้าทาย ไม่ติดยึดกับรูปแบบเดิมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ยึดหลักบูรณาการระหว่างหน่วยงาน มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถวัดผลสำเร็จได้อย่างชัดเจน เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลก ทันสมัย แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่

10 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-2550
การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม การมีส่วนร่วมของประชาชน การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit ) Lay Board การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- Service) call center 1111 ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Scorecard) มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง การบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM READY รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน

11 เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย
1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม 3. ยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการและ มาตรฐานการทำงานของหน่วยงานภาครัฐให้อยู่ในระดับสูงและเทียบเท่าเกณฑ์มาตรฐานสากล 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย - เปิดระบบราชการสู่กระบวนการความเป็นประชาธิปไตย

12 การจัด การจัด โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน รองนายกฯ 1 รองนายกฯ 2
การจัด โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ 1 รองนายกฯ 2 รองนายกฯ 3 กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม จังหวัด …… รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด จังหวัด …… นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด จังหวัด …… รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด

13 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ – พ.ศ. 2555) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ – พ.ศ. 2555) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ โดยมีการปรับปรุงกลไกและระบบการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการให้เหมาะสมสอดรับกับพันธกิจและลักษณะของหน่วยงานของรัฐ สามรถวัดผลได้ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล รวมทั้งการพัฒนามาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน 13 13

14 การบริหารราชการ ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ (6) ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ที่มา: มาตรา 6 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

15 Strategy Implementation กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารรัฐกิจแนวใหม่ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation ติดตาม ประเมินผล Strategic Control วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map แผนปฏิบัติการ กำกับติดตามและ ประเมินผล ทบทวนสถานการณ์ เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ การปรับแต่ง กระบวนงาน โครงสร้าง เทคโนโลยี คน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

16 ตัวอย่าง วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ Agenda / Focusing Areas ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก Detroit of Asia King & Queen of Fruit Entertainment Complex ……… Values Strategy Map (logic model) Corporate Scorecard Action Plan มิติ Objectives Measurement Targets Initiatives Budget Financial ประสิทธิ ผล ประสิทธิผล Customer คุณภาพ ประสิทธิ ภาพ Internal work process ประสิทธิภาพ Learning & Growth พัฒนาองค์กร พัฒนาองค์กร Business Unit Scorecard Team / Individual Scorecard

17 องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร

18 S W O T บุคคล/วัฒนธรรม กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง
รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่ Strategy Formulation การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control การกำกับและติดตามผล Strategy Implementation การปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์ Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management การประเมินและบริหารความเสี่ยง บุคคล/วัฒนธรรม กระบวนงาน ระบบสารสนเทศ การปรับเชื่อมโยง กฎ/ระเบียบ โครงสร้าง ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

19 HPO วิธีการ การนำยุทธศาสตร์ การควบคุม กำกับ การวางยุทธศาสตร์
เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์ gaps ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SAR และให้มีการเข้าไปตรวจสอบ ทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย วัฒนธรรมองค์การ ปรับเปลี่ยน ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์ จัดการ ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ จัดการข้อมูล บริหาร บริหารจัดการ ด้านการเงิน ประเมินผล การปฏิบัติงาน สร้างเครือข่าย HPO การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) Strategy Map วิธีการ Value Chain Individual SC Networking ศูนย์บริการร่วม SWOT Analysis Benchmarking Structure Design PMQA ประเมินความคุ้มค่า การจัดทำบัญชีต้นทุน GSMS/GFMIS Risk Management Capacity Building Blueprint for Change Process Improvement Change Management Technology Development Knowledge Management eAuction/eProcurement สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ Participation Balanced Scorecard

20 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ประโยชน์สุขของประชาชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google