“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการฝึกอบรม
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน
จากหิ้งสู่ห้าง การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยพัฒนา
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
Thailand Quality Award (TQA)
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
Computer Application in Customer Relationship Management
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การแถลงผลการประชุม เรื่อง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
The National Telecommunications Commission สัมมนาเรื่อง “มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโดยกทช” ดำเนินการอภิปรายโดย ศาสตราจารย์ ประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ.
นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การเขียนข้อเสนอโครงการ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์” ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสัมมนา “การส่งเสริมงานวิจัย และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ จากหิ้งสู่ห้าง” 3 กันยายน 2553

“ การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จะประสบความสำเร็จได้ต่อเมื่อเข้าใจถึง ประเภท และขนาด ของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิต นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องเลือก รูปแบบ วิธีการดำเนินการที่เหมาะสม ด้วย”

ประเภทของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิตสินค้า แบ่งตามมุมมองของการพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัย คือ 1 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนไทย 2 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนต่างชาติ

“อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นคนต่างชาติมักจะทำวิจัย ที่บริษัทหลักในต่างประเทศ”

ขนาดอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ SME

รูปแบบในการทำวิจัย หน่วยงานของรัฐ เช่น มหาวิทยาลัย ทำวิจัย โดยใช้งบประมาณจากรัฐเป็นหลัก 1 2 อุตสาหกรรมทำวิจัยภายในบริษัทเอง อุตสาหกรรมสนับสนุนทุนให้ หน่วยงานของรัฐทำวิจัย เพื่อนำผลมาแก้ปัญหาการผลิตขององค์กร 3 อุตสาหกรรมและหน่วยงานของรัฐ ทำวิจัยร่วมกัน องค์ความรู้ที่ได้มาแบ่งปันผลประโยชน์กัน 4

การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ ตาราง การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี  โจทย์วิจัยมักมาจากนักวิจัยเอง  เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 1. หน่วยงานของรัฐทำวิจัยเอง  งบประมาณของรัฐจำกัด  นิสิต/นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกทำวิจัย  นักวิจัยส่วนใหญ่ ไม่ถนัด ทำวิจัยเพื่อบริการการผลิต  นักวิจัยมีความกดดันสูง เนื่องจากการคาดหวังของบริษัท  องค์ความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็นของบริษัทแต่ผู้เดียว 2. อุตสาหกรรมทำวิจัยเอง  ได้ผลงานที่นำไปใช้จริงในเวลาจำกัด (สั้น)  นักวิจัยส่วนใหญ่จะมองปัญหาลึกและแคบ

ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย  เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย  ผลงานวิจัยมักไม่ทันเวลา 4. การทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม หรือผู้ผลิต และหน่วยงานของรัฐ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัย)  เป็นการรวมเอาจุด เด่นของการวิจัยของทั้งสององค์กร มาใช้ประโยชน์เต็มที่  องค์กรความรู้พื้นฐานไม่สามารถเก็บเป็นความลับได้

หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย) กุญแจแห่งความสำร็จในการทำวิจัย (Key of Success) “หุ้นส่วน” (partnership) แหล่งทุน อุตสาหกรรม หรือ หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย) ผู้ผลิต

รูปแบบการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมหรือผู้ผลิต และมหาวิทยาลัย นักวิจัยบริษัท วิจัยแบบมุ่งเน้น ผลิตภัณฑ์ใหม่ คณาจารย์ ฐานความรู้ (knowledge base) วิจัยพื้นฐาน นิสิต/นักศึกษา

คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รัฐ โครงสร้างพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ใหม่  เงินลงทุน และดำเนินงาน มหาวิทยาลัย คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา อุตสาหกรรม  โจทย์วิจัย  นักวิจัย องค์ความรู้พื้นฐาน

มหาวิทยาลัย SME รัฐ ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง  งบลงทุน  งบดำเนินงาน  นักวิจัย  โจทย์วิจัย ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง  คณาจารย์  นิสิต/นักศึกษา มหาวิทยาลัย องค์ความรู้พื้นฐาน

บทสรุป  รูปแบบที่เหมาะสม ที่จะทำให้ผลงานวิจัย ได้นำไปใช้ประโยชน์จริง ในภาคการผลิต คือ การทำวิจัย ร่วมกัน ระหว่าง ภาครัฐ และภาคการผลิต  กุญแจแห่งความสำเร็จในการทำวิจัยคือ “หุ้นส่วน” และ ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน