ระบบเศรษฐกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Free Trade Area Bilateral Agreement
กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
Knowledge- Base Systems
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
โครงสร้างขององค์การ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเศรษฐกิจ

ปัจจุบันอาจจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง รูปแบบการจัดการการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อสนองความต้องการที่ไม่มีสิ้นสุดของมนุษย์ให้ได้ประโยชน์สูงสุดหรือมีประสิทธิภาพที่สุด ปัจจุบันอาจจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

ทุกคนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้กำหนดราคาใช้กลไกราคา ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ทุกคนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้กำหนดราคาใช้กลไกราคา เอกชนมีบทบาทเต็มที่

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1.เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกตั้ง เลือกตัดสินใจในการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2.กำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นแรงจูงใจในการทำงาน ทำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1.ก่อให้เกิดปัญหาการเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากความสามารถ ที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคลโดยพื้นฐานทำให้การหารายได้ไม่เท่ากัน 2.ในหลายๆกรณีกลไกทางการตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดสรรทรัยากรในระบบเศรษฐกิจ 3.การใช้ระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้เกิดการใช้ทรัพยากร ทางเศรษฐกิจอย่างสิ้นเปลือง

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ( socialism ) ระบบเศรษฐกิจแบบนี้เป็นระบบที่รัฐจะเป็นผู้ ครอบครองทรัพยากรพื้นฐานไว้เกือบทั้งหมด แต่บางอย่างรัฐยังให้เสรีภาพแก่ประชาชนบ้างพอสมควร เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ระบบกลไกราคามีผลอยู่บ้างในระบบเศรษฐกิจนี้

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 1.ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคล 2.เอกชนมีสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินได้บ้าง    ข้อเสียระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 1.การผลิตถูกจำกัดเพราะต้องผลิตตามที่รัฐกำหนด 2.โอกาสที่จะขยายการผลิตหรือพัฒนาคุณภาพการผลิตเป็น ไปได้อย่างลำบาก

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม( mixed economy ) ระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะผสมผสานระหว่างแบบทุนนิยมและสังคมนิยม กล่าวคือ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมทั้งรัฐและเอกชนต่างมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตมีทั้งส่วนที่เป็นของรัฐและเอกชน

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างมีความคล่องตัว ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1.การมีกำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินอาจทำให้เกิด การเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ 2.การที่รัฐสามารถเข้าแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรัฐอาจก่อให้เกิด 2.1 ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง   2.2 ปัญหาเอกชนไม่กล้าลงทุนอย่างเต็มที่ เนื่องจากไม่แน่ใจใน สถานการณ์ทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาลซึ่งมี ความผันผวนและเปลี่ยนแปลงได้ง่าย

งานที่ต้องปฏิบัติ ปฏิบัติอย่างไร ปฏิบัติเพื่อใคร งานอะไร

ตารางวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจ ประเด็น ทุนนิยม สังคมนิยม แบบผสม 1. เจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ผู้กำหนดราคาสินค้า 3. บทบาทของเอกชน 4. บทบาทของรัฐ 5. ลักษณะสำคัญ 6. ตัวอย่างประเทศที่ใช้ในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้