ระบบเศรษฐกิจ
ปัจจุบันอาจจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง รูปแบบการจัดการการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อสนองความต้องการที่ไม่มีสิ้นสุดของมนุษย์ให้ได้ประโยชน์สูงสุดหรือมีประสิทธิภาพที่สุด ปัจจุบันอาจจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ทุกคนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้กำหนดราคาใช้กลไกราคา ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ทุกคนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้กำหนดราคาใช้กลไกราคา เอกชนมีบทบาทเต็มที่
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1.เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกตั้ง เลือกตัดสินใจในการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 2.กำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นแรงจูงใจในการทำงาน ทำให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 1.ก่อให้เกิดปัญหาการเหลื่อมล้ำอันเนื่องมาจากความสามารถ ที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคลโดยพื้นฐานทำให้การหารายได้ไม่เท่ากัน 2.ในหลายๆกรณีกลไกทางการตลาดยังไม่ใช่เครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพเพียงพอสำหรับการจัดสรรทรัยากรในระบบเศรษฐกิจ 3.การใช้ระบบการแข่งขันหรือกลไกราคาอาจทำให้เกิดการใช้ทรัพยากร ทางเศรษฐกิจอย่างสิ้นเปลือง
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ( socialism ) ระบบเศรษฐกิจแบบนี้เป็นระบบที่รัฐจะเป็นผู้ ครอบครองทรัพยากรพื้นฐานไว้เกือบทั้งหมด แต่บางอย่างรัฐยังให้เสรีภาพแก่ประชาชนบ้างพอสมควร เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ระบบกลไกราคามีผลอยู่บ้างในระบบเศรษฐกิจนี้
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 1.ช่วยลดปัญหาการเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ของบุคคล 2.เอกชนมีสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินได้บ้าง ข้อเสียระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 1.การผลิตถูกจำกัดเพราะต้องผลิตตามที่รัฐกำหนด 2.โอกาสที่จะขยายการผลิตหรือพัฒนาคุณภาพการผลิตเป็น ไปได้อย่างลำบาก
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม( mixed economy ) ระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะผสมผสานระหว่างแบบทุนนิยมและสังคมนิยม กล่าวคือ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมทั้งรัฐและเอกชนต่างมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจัยการผลิตมีทั้งส่วนที่เป็นของรัฐและเอกชน
ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1.เป็นระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างมีความคล่องตัว ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1.การมีกำไรและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินอาจทำให้เกิด การเหลื่อมล้ำทางฐานะและรายได้ 2.การที่รัฐสามารถเข้าแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรัฐอาจก่อให้เกิด 2.1 ปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง 2.2 ปัญหาเอกชนไม่กล้าลงทุนอย่างเต็มที่ เนื่องจากไม่แน่ใจใน สถานการณ์ทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาลซึ่งมี ความผันผวนและเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
งานที่ต้องปฏิบัติ ปฏิบัติอย่างไร ปฏิบัติเพื่อใคร งานอะไร
ตารางวิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจ ประเด็น ทุนนิยม สังคมนิยม แบบผสม 1. เจ้าของปัจจัยการผลิต 2. ผู้กำหนดราคาสินค้า 3. บทบาทของเอกชน 4. บทบาทของรัฐ 5. ลักษณะสำคัญ 6. ตัวอย่างประเทศที่ใช้ในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้