เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
เศรษฐกิจพอเพียง.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
การค้ามนุษย์.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
ไทยสบาย หรือไทยสปายะ (Thai Spaya)
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
Case Management.
กระบวนการยุติธรรมสำหรับผู้เยาว์
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
คุณภาพชีวิต.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
อาสาสมัครสาธารณสุขดีเด่น สาขาควบคุมโรคติดต่อ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556 ดุลยภาพบำบัดมีความสำคัญกับ การศึกษาอย่างไร เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556 โดย รศ.พญ.ลดาวัลย์ สุวรรณกิตติ เลขาธิการมูลนิธิดุลยภาพบำบัดเพื่ออายุและสุขภาพ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ นายกสมาคมฝังเข็มเพื่อสุขภาพ ประธานกรรมการบ้านสวนสหคลินิก

ดุลยภาพบำบัด เป็นการรักษาที่ยึดหลักการความสมดุลทางธรรมชาติของมนุษย์ โดยพิจารณาถึงโครงสร้างร่างกาย หน้าที่ของอวัยวะและระบบต่าง ๆ สภาพจิตใจ อาชีพ อริยาบถประจำวัน ตลอดจนอาหาร ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม ร่วมกับการฝังเข็มแบบประยุกต์ เพื่อปรับสมดุลโครงสร้างร่างกาย ส่วนที่ไม่สามารถปรับสมดุลด้วยตนเองได้ ซึ่งทั้งหมดตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นวิทยาศาสตร์

ธรรมชาติมนุษย์ ต้องมองเป็นภาพรวม ในเวลาเดียวกัน พร้อม ๆ กับ จิต กาย สังคม ที่มีความสัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา ไม่สามารถแยกส่วนใดส่วนหนึ่งออกจากกันหรือพยายามบำบัดรักษาอาการใด โรคใดโรคหนึ่งเท่านั้น หลักการเป็นเชิงรุก เป็นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันก่อนจะเกิดโรค แม้นว่าเมื่อเกิดแล้วการบำบัดรักษาไม่มองเฉพาะอวัยวะที่เกิดอาการเท่านั้น เน้นที่การเสียสมดุลของโครงสร้างร่างกาย และหน้าที่ที่เปลี่ยนไปตามอาชีพ สังคม ที่สำคัญการเสียสมดุลตั้งแต่ก่อนเกิด(ครรภ์มารดา) ในอดีตจะมีความสัมพันธ์ถึงปัจจุบันที่บ่งชี้อาการตามอวัยวะต่าง ๆ สุดท้ายทุกคนในครอบครัวสามารถเสริมสร้างสุขภาพ และประคับประคองการฟื้นฟูได้ด้วยตนเอง เป็นการตั้งรับได้ในทุกสถานการณ์

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 1. การเรียนรู้ (Education) รู้ระบบโครงสร้างร่างกาย หน้าที่ของมนุษย์เป็นระบบ

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 2. ความสมดุล (Equilibrium) ของจิต กาย สังคม ที่มีความสัมพันธ์กับโครงสร้าง หน้าที่ และตำแหน่งของร่างกายมนุษย์ทั้งระบบ

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 3. การบริหารร่างกาย (Exercise) จิต กาย ให้เข้ากับสังคม การหายใจ ไม่ได้มองเฉพาะระบบการหายใจอย่างเดียว

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 4. การรับประทานอาหาร (Eating) มนุษย์ทุกคนต้องการอาหารเพื่อความอยู่รอด การรับของเข้าร่างกายมนุษย์ทางปากย่อมมีบทบาทสำคัญพื้นฐานหนึ่งของการดำรงชีวิตให้มีสุขภาพดี

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 5. อารมณ์ (Emotion) มีอยู่ในธรรมชาติของมนุษย์เพียงแต่ว่าจะฝึกอารมพัฒนาตนได้มากน้อยเพียงใด เริ่มต้นด้วยการนำจิตให้มีสมาธิเมื่อเกิดปัญญา

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 6. การขับถ่าย (Excretion) เซลล์ที่เล็กที่สุดได้รับอาหารแล้วก็ต้องมีทางที่จะระบายออก ปฏิบัติอย่างไรเพื่อที่จะให้ระบบขับถ่ายทุกระบบในร่างกายมีความสมดุล

หลักการดุลยภาพบำบัดเป็นข้อเรียนรู้และปฏิบัติ 7. สิ่งแวดล้อม (Environment) ความตระหนักถึงบทบาทการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี และเวลาเดียวกันกับมุมมองที่สิ่งแวดล้อมกระทบถึงตัวเราเพื่อให้ได้อาหาร อากาศ สังคมที่ดี ซึ่งจำเป็นต่อโครงสร้างมนุษย์อย่างชัดเจน ก็คงจะสะท้อนถึงสุขภาพที่ดีได้