DIMMER HOSPITAL
กนกพร เจริญวงศ์ อ. ฉัตรชัย มีหนุน ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ที่ปรึกษาคณะทำงาน กนกพร เจริญวงศ์ อ. ฉัตรชัย มีหนุน คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน คณะกรรมการตรวจประเมินการอนุรักษ์พลังงาน ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรม ประธานคณะกรรมการ สมาน ธานีตระกูล รัชนี โพธิ์ประสระ ศุภกร อินเลื่อมใส จิราพร ประกายรุ่งทอง พีระพงศ์ เศวตมาลานนท์ สุวรรณ นวลหยวก พงษ์ยศ มีสุวรรณ ชินภัทร์ เปงคำ วิรัตน์ ไกรเมฆ เอมิกา สิทธิไตรย์ ( เลขาฯ ) มนตรี อินทารักษา
นโยบายในการอนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานถือเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานโดยเผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและต้องมีส่วนรับผิดชอบและปฏิบัติโดยเคร่งครัด 1. ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและทุกสถานการณ์ โดยจำนวนการใช้พลังงานของปี 2556 ต่ำกว่าปี 2555 ลดลง10 % 2. ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดมาตรฐานคุณภาพ 3. ดำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรพลังงานให้เหมาะสมกับสภาพและบริบทของโรงพยาบาลรวมทั้งเทคโนโลยีที่ใช้ 4. ส่งเสริมสนับสนุนทั้งทรัพยากรบุคคลและงบประมาณในการดำเนินการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ 5.
แผนผังบริเวณ OPD ศัลย์ สูติ MET กุมาร ENT
แผนผังบริเวณ X - Ray ห้องล้างฟิล์ม บันไดหนีไฟ ห้องน้ำ เคาน์เตอร์พยาบาล ห้องตรวจ ห้องตรวจ ชุดรับแขก ห้องตรวจ ห้องตรวจ ห้องตรวจ ห้องตรวจ ห้องเปลี่ยนเสื้อ ห้องเปลี่ยนเสื้อ ห้องเปลี่ยนเสื้อ
แผนผังบริเวณที่ตั้ง Solar Collector บันไดหนีไฟ บันไดหนีไฟ
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 1.นโยบายกาจัดการพลังงาน จุดแข็ง มีนโยบายการจัดการพลังงานชัดเจนโดยจัดทำเป็นเอกสาร จุดที่พัฒนาได้ ให้ผู้บริหารลงนามในเอกสารและให้การสนันสนุนโครงการอนุรักษ์พลังงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่ปฎิบัติตามนโยบายโดยเคร่งครัด
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 2.การจัดการองค์กร จุดแข็ง มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานทำหน้าที่ดำเนินงานอนุรักษ์พลังงานรายงายผลการดำเนินงานต่อผู้บริหาร จุดที่พัฒนาได้ มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านอนุรักษ์พลังงาน โดยผู้บริหารระดับสูงกำหนดอำนาจหน้าที่ขอบเขตชัดเจน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่ทราบ
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 3.การกระตุ้นและร้างแรงจูงใจ จุดแข็ง มีคณะกรรมการคณะทำงาน จุดที่พัฒนาได้ มีแผนการอบรมความรู้และกำหนดกิจกรรมการดำเนินงานอนุรักษ์พลังงานอย่างชัดเจนต่อเนื่อง มีงบประมาณ สนันสนุนเพื่อสร้างแรงจูงใจและกระตุ้น
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร 5.การประชาสัมพันธ์ จุดแข็ง มีคณะกรรมการทำหน้าที่ประชา สัมพันธ์เฉพาะกิจทำหน้าที่ในการสื่อสารข้อมูล จัดบอร์ดเป็นครั้งคราว จุดที่พัฒนาได้ แต่ตั้งคณะทำงานเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลังงานทำหน้าที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 6.การลงทุน จุดแข็ง ผู้บริหารให้ความสำคัญพิจารณาการลงทุนในมาตรการที่ให้ผลตอบแทนสูง จุดที่พัฒนาได้ มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีเป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุน โดยพิจารณาโครงการทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้งผลตอบแทนต่ำ กลาง สูง
มาตรการลดค่าพลังงานไฟฟ้าของแผนก OPD ผลสำรวจ : ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมแสงสว่าง จำนวน 230 หลอด กำลังไฟฟ้าต่อหลอดรวมบัลลาสต์ = 48 วัตต์ เวลาทำงาน = 12 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 48,355 kWh/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ การใช้อุปกรณ์ตรวจจับแสงในการสร้างข้อแม้การทำงาน การใช้อุปกรณ์ตรวจจับความเคลื่อนไหว แบ่งการทำงาน 2 ช่วงเวลา ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า 2 ช่วง = (18,804 + 6,716) = 25,520 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 48,355 – 25,520 = 22,835 x 3.7 = 84,489.5 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 วัตต์ เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) 2. มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.7 = 2,592.96 บาท/ปี
ประชาสัมพันธ์ 1. ออกเสียงตามสายเชิญชวนปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงาน เปิดเพลงอนุรักษ์พลังงานตามสาย ช่วงระหว่างพักกลางวัน 2. ติดโปสเตอร์รณรงค์อนุรักษ์พลังงานบริเวณที่สัญจรทั่วไป หน้าลิฟต์ ทางเดินระหว่างอาคาร
ประชาสัมพันธ์ 3. ติดสติ๊กเกอร์เชิญชวนเปิด-ปิดไฟ บริเวณสวิทช์ไฟ 4. ทำเสื้อทีมอนุรักษ์พลังงานให้สส.พลังงาน
มาตรการอื่นๆ ลดเวลาการใช้งานพัดลมดูดอากาศในหน่วยงาน ตั้งเครื่องเวลาในการเปิด-ปิด โทรทัศน์
แผนดำเนินการ
แผนตรวจติดตามประจำปี
ท่านได้อะไรจากการฝึกอบรมในครั้งนี้ที่สามารถนำกลับไปใช้งานได้ทันที 1.เปลี่ยนมาใช้ Boiler เป็น Solar Collecter ทำน้ำอุ่น 2.ในงาน X-Ray เปลี่ยนจากใช้ฟิล์มเดิมมาใช้ระบบ pacs ประหยัดวัสดุ 3.เปลี่ยนจากหลอดฟลูเรสเซนต์ธรรมดา (T8) เป็นทลอด T5 4.ไฟฉุกเฉินเปลี่ยนเป็นหลอด LED ทำใท้ประหยัดใช้นานขึ้นกว่าเดิม 5. แบ่งโซนการทำงาน ปิด-เปิด สวิทช์ไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน 6. ลดการใช้พลังงานพร้อมทั้งทรัพยากรด้านอื่นของโรงพยาบาลโดยลดความแออัดของผู้ป่วยที่แผนก OPD
ความในใจ...ที่อยากบอก รัก รักทุกคน รักที่ได้มาพบกัน รักในการอนุรักษ์พลังงาน ทุก ( ข์ ) ทุก ( ข์ )ที่ต้องเดินไกล เครียดที่ต้องนำเสนอ คน รุงรังที่ต้องทำแผนงานนำเสนอ
DIMMER HOSPITAL