ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนบทความ.
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ขั้นตอนการฝึกความคิดด้านการคิดวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การศึกษารายกรณี.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
Management Information Systems
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แนวคิดในการทำวิจัย.
E-Sarabun.
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
การพูด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
(Demonstration speech)
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การเขียนรายงาน.
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การสังเคราะห์ (synthesis)
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )

สาเหตุที่ต้องปรับปรุง คือ อำนาจจำแนก (0.05) มีค่าต่ำกว่า 0.20 ก่อนการปรับปรุง ข้อ 78. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการนำเสนอรายงาน A. การนำเสนอรายงานเป็นกิจกรรมที่ช่วยฝึกทักษะทางภาษาของทั้งผู้พูดและผู้ฟัง B. เนื้อเรื่องเป็นประเด็นหลักที่สำคัญที่สุดของการนำเสนอรายงาน C. การวางโครงเรื่องหรือการจัดประเด็นสำคัญในการพูดจะช่วยให้การพูดเป็นระเบียบ ไม่วกวน และจะช่วยสร้างความมั่นใจให้กับผู้พูดเป็นอย่างดี D. การนำโสตทัศนูปกรณ์ทุกชนิดมาประกอบการนำเสนอรายงาน จะช่วยให้เรื่องนั้นน่าสนใจ และได้รับความสำเร็จ เอกสารหน้า 20 สาเหตุที่ต้องปรับปรุง คือ อำนาจจำแนก (0.05) มีค่าต่ำกว่า 0.20 อะไรเป็นสาเหตุ ? โปรดสังเกตที่ผลการวิเคราะห์ สิ่งที่ต้องปรับปรุง คือ ตัวลวง A เพราะกลุ่มสูงตอบมากกว่ากลุ่มต่ำ ดูรายละเอียดหน้าต่อไป?

สาเหตุที่ต้องปรับปรุงข้อ 78. คือ อำนาจจำแนก (0.05) มีค่าต่ำกว่า 0.20 สาเหตุที่ต้องปรับปรุงข้อ 78. คือ อำนาจจำแนก (0.05) มีค่าต่ำกว่า 0.20 เอกสารหน้า 20 สิ่งที่ต้องปรับปรุงข้อ 78. คือ ตัวลวง A. เพราะตัวลวงนี้เป็นตัวลวงที่กลุ่มสูงตอบมากกว่ากลุ่มต่ำ ซึ่งผิดวัตถุประสงค์ในการเขียนตัวลวง เพราะหน้าที่ของตัวลวงคือ ลวงให้คนที่ไม่รู้จริง (คือรู้แบบงูๆปลาๆ) ตอบ ดังนั้นกลุ่มสูงควรตอบน้อยกว่ากลุ่มต่ำ (ยิ่งกลุ่มสูงไม่ตอบเลยยิ่งดี) ในที่นี้กลุ่มสูงตอบมากกว่ากลุ่มต่ำถึง 33% - 19% = 14% แสดงว่าตัวลวงตัวนี้มีปัญหา สำหรับตัวลวง B. และ C. ได้ทำหน้าที่เหมาะสมแล้ว เพราะกลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูงเกิน 5% กล่าวคือ ตัวลวง B. กลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูง 37% - 29% = 8% และตัวลวง C. กลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูง 15% - 04% = 11%

ซึ่งสูงกว่า 0.20 จึงถือว่าจำแนกได้ หลังการปรับปรุง ( ตัวลวง A ) ข้อ 20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการนำเสนอรายงาน A. การฝึกซ้อมก่อนพูดจริงเป็นขั้นตอนหนึ่งที่ควรปฏิบัติต่อจากการจัดระเบียบเรื่องที่พูด B. เนื้อเรื่องเป็นประเด็นหลักที่สำคัญที่สุดของการนำเสนอรายงาน C. การวางโครงเรื่องหรือการจัดประเด็นสำคัญในการพูดจะช่วยให้การพูดเป็นระเบียบ ไม่วกวน และจะช่วยสร้างความมั่นใจให้กับผู้พูดเป็นอย่างดี D. การนำโสตทัศนูปกรณ์ทุกชนิดมาประกอบการนำเสนอรายงาน จะช่วยให้เรื่องนั้นน่าสนใจ และได้รับความสำเร็จ เอกสารหน้า 21 ผลการปรับปรุง คือ อำนาจจำแนกเพิ่มเป็น 0.31 ซึ่งสูงกว่า 0.20 จึงถือว่าจำแนกได้ มีสิ่งที่จะต้องปรับปรุงได้อีกหรือไม่? โปรดสังเกตที่ผลการวิเคราะห์ สิ่งที่จะต้องปรับปรุงต่อไป ตัวลวง C. เพราะกลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูง 9% - 6% = 3% ซึ่งน้อยกว่า 5% ดูรายละเอียดหน้าต่อไป?

ผลการปรับปรุง อำนาจจำแนกเพิ่มเป็น 0. 31 ซึ่งสูงกว่า 0 ผลการปรับปรุง อำนาจจำแนกเพิ่มเป็น 0.31 ซึ่งสูงกว่า 0.20 จึงถือว่าจำแนกได้ โดยกลุ่มสูง (UP) ที่เคยเลือกตัวลวง A. ลดลงจากก่อนปรับปรุงซึ่งมี 33% เหลือหลังปรับปรุงเป็น 15% ในขณะที่กลุ่มต่ำ (LO) แทบจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย กล่าวคือ ก่อนการปรับปรุง ผู้ตอบกลุ่มต่ำเลือกตัวลวง A. 19% หลังการปรับปรุงแล้ว ผู้ตอบกลุ่มต่ำเลือกตัวลวง A. 20% ซึ่งแตกต่างกันเพียง 1% เท่านั้น แสดงว่าตัวลวงตัวนี้สามารถลวงกลุ่มต่ำได้อย่างคงเส้นคงวา เอกสารหน้า 21 สิ่งที่จะต้องปรับปรุงต่อไป เดิมตัวลวง C. ถือว่าใช้ได้ โดยกลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูง 15% - 4% = 11% แต่เมื่อมีการปรับปรุงตัวลวง A. แล้ว ทำให้ผู้สอบต้องจัดระเบียบความคิดใหม่ ผลการจัดระเบียบดังกล่าวทำให้กลุ่มต่ำตอบมากกว่ากลุ่มสูง 9% - 6% = 3% ซึ่งน้อยกว่า 5% ดังนั้น ครั้งต่อไปควรปรับปรุงตัวลวง C. นอกจากนี้แล้ว ถ้าเนื้อหาของตัวลวงไม่มีความเกี่ยวข้องกันแล้ว ควรเรียงลำดับตัวเลือกตามความยาวของข้อความด้วย