โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทร มาตรเอนกประสงค์. COE สมาชิกในกลุ่มนายวิศัลย์ ประสงค์สุข นายศุภชัย ทองสุข อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการดร.
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
Accessing Web Application Data at Any Time 1. 2 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ. กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล รศ. วนิดา แก่นอากาศ.
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
Low-speed UAV Flight Control Phase II
โดย นายชยกร พิมพานนท์ นางสาวนพวรรณ์ ไสลรัตน์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอ (Secret Sharing over RSA)
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.
Probabilistic Asymmetric Cryptosystem
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher 1.
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
Private Key Crypto หรือ Single-key algorithm หรือ one-key algorithm
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ (Secret Sharing over RSA)
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
การเข้ารหัสลับกุญแจ สาธารณะสำหรับ สภาพแวดล้อมเคลื่อนที่ และไร้สาย นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล COE อ. ที่ปรึกษา.
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
Accessing Web Application Data at Any Time
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
ADDIE model หลักการออกแบบของ
การวางแผนและการดำเนินงาน
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
Cryptography.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
หลักการแก้ปัญหา.
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
การสร้างสื่อ e-Learning
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Probabilistic Asymmetric Cryptosystem ระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส 503040255-9 นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส 503040764-8 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ.ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ รศ.ดร. วนิดา แก่นอากาศ

รายละเอียดการนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ แผนการดำเนินงาน ออกแบบระบบเบื้องต้น ส่วนประกอบของระบบ ปัญหาและอุปสรรค บทสรุป

หลักการและเหตุผล ความต้องการด้านความปลอดภัยในการเข้ารหัสและถอดรหัส มีมากขึ้นในปัจจุบัน การเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรในปัจจุบันซึ่งได้แก่ RSA และ Rabin นั้นเป็นการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนด ดังนั้นถ้า cryptanalysis สามารถทำ Trapdoor Predicate ส่วนหนึ่งได้จะสามารถ Predicate ข้อมูลได้ทั้งหมด การทำให้ข้อมูล (plaintext) อยู่ในรูปพหุนามเชิงเวลา ได้รับการพิสูจน์ใน Yao [1258] ว่าสามารถป้องกัน Trapdoor predicate ได้ การเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงสุ่ม ที่พัฒนาจากการทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปพหุนามเชิงเวลา แล้วเข้ารหัสด้วยการเข้ารหัสแบบอสมมาตรเชิงกำหนดสามารถเพิ่มความปลอดภัยให้สูงขึ้นได้

วัตถุประสงค์ของโครงการ ศึกษาการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนด (Deterministic Public-Key Encryption) ศึกษาทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น (Elementary Number Theory) พีชคณิตเชิงเส้น (Linear Algebra) ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory) และอัลกอริทึมเกี่ยวข้องกับการออกแบบ พัฒนาอัลกอริทึมสำหรับการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น (Probabilistic Public-Key Encryption) พัฒนาโปรแกรมสำหรับการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น ทดสอบและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการคำนวณระหว่างการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนดและการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น

เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ เป็นการพัฒนาระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมการเชิงกำหนด (Asymmetric Deterministic Cryptosystem) บนพื้นฐานของปัญหาการแยกตัวประกอบ (Factoring Problem) ใน RSA .ให้อยู่ในรูประบบการเข้ารหัสลับแบบอสมการเชิงสุ่ม (Asymmetric Random Cryptosystem) บนพื้นฐานของปัญหาของพหุนามเชิงเวลา (Polynomial time) ที่ซึ่งข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสยากต่อการวิเคราะห์การเข้ารหัส (Cryptanalysis) ด้วยวิธีทั้งแยกตัวประกอบและการใช้ Trapdoor Predicate ขอบเขตของโครงการ สามารถสร้างระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็นที่มีความปลอดภัยสูงนำไปใช้งานได้จริง โดยไม่มีข้อผิดพลาดแต่อย่างใด

แผนการดำเนินงาน

ออกแบบระบบเบื้องต้น

ส่วนประกอบของระบบ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิทยาการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ อัลกอริทึม RSAกับวิทยาการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ THE RSA Cryptosystem ตัวแปลงรหัสแบบกระแส

ระบบการเข้ารหัสข้อมูล (Cryptography) สามารถแบ่งตามวิธีการใช้เป็น 2 วิธี ดังนี้ ระบบเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตร (Symmetric-key cryptography) ระบบเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร (Asymmetric-key cryptography or Public Key Technology)

THE RSA Cryptosystem รักษาความปลอดภัยของ RSA Cryptosystem จะขึ้นอยู่กับฟังก์ชันการเข้ารหัสของ เป็นฟังก์ชันทางเดียวที่จะทำให้อีกฝ่ายสามารถคำนวณเพื่อถอดรหัส ข้อความที่ไม่สามารถอ่านได้ โดยการถอดรหัสข้อความที่ไม่สามารถอ่านได้ จะใช้ความรู้ของตัว เมื่อทราบตัวประกอบนี้จึงทำให้ สามารถคำนวณหาค่า นำไปคำนวณเพื่อหาค่า a โดยใช้ Extend Euclidean Algorithm

อัลกอริทึม RSAกับวิทยาการเข้ารหัสลับ แบบกุญแจสาธารณะ

ตัวแปลงรหัสแบบกระแส การเข้ารหัสแบบกระแสโดยใช้ตัวสร้างกระแสบิต (Bit-stream Generator) ในการสร้างกระแสเลขโดดฐานสอง (Binary Digits) ที่เรียกว่า กระแสบิตทางด้านวิทยาการรหัสลับ โดยผ่านตัวดำเนินการออร์เฉพาะ (Exclusive-OR, XOR) หรือการบวกแบบมอดูโล 2 (Addition Modulo 2)

สิ่งที่จะพัฒนาต่อ พัฒนาออกแบบอัลกอริทึม เขียนโปรแกรม และ ทดสอบประสิทธิผลเชิงเวลาของการแก้รหัสและถอดรหัสลับ ในระบบที่ออกแบบเปรียบเทียบการเข้ารหัสลับแบบ อสมมาตร RSA

ปัญหาและอุปสรรค ความซับซ้อนในเชิงคำนวณสูง เอกสารที่เผยแพร่มีไม่มาก

บทสรุป การพัฒนาระบบการเข้ารหัสแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น เป็นการนำข้อดีของการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสมมาตรและแบบกุญแจอสมมาตรมาใช้ในการพัฒนาระบบ เพื่อเพิ่มความแกร่งให้กับระบบการเข้ารหัส ซึ่งยากต่อการวิเคราะห์ของผู้บุกรุกที่ต้องแก้ปัญหาอย่างหนัก