โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์ COE2010-24 โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์ นายวิศัลย์ ประสงค์สุข 503040260-6 นายศุภชัย ทองสุข 503040263-0 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วาธิส ลีลาภัทร อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล ดร.ชัชชัย คุณบัว
OUTLINE วัตถุประสงค์ของโครงการ แผนการดำเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบบโทรมาตรคืออะไร หลักการทำงานของระบบโทรมาตรอเนกประสงค์ การทดสอบระบบการทำงาน สรุปผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อศึกษาและออกแบบโครงสร้างพื้นฐานของระบบโทรมาตร ออกแบบและสร้างโปรแกรมเพื่อการรับส่งข้อมูลและควบคุมโทร มาตร ออกแบบโครงสร้างโทรมาตรพื้นฐานให้อำนวยความสะดวกแก่ ผู้พัฒนาโปรแกรม
แผนการดำเนินงาน ศึกษาข้อมูลโครงการ ออกแบบระบบ วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบ สร้างและทดสอบระบบ ปรับปรุงแก้ไข วิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบ รายงานผลการดำเนินโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบบต้นแบบของโครงสร้าง ระบบซอฟต์แวร์พื้นฐานในการควบคุมการทำงาน Library ในการดึงข้อมูลที่ได้จากการวัด
ระบบโทรมาตรคืออะไร อุปกรณ์ตรวจวัดค่าทางฟิสิกส์ เคมี ชีวภาพ มีการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย GSM แสดงผลในรูปแบบเชิงสถิติ GSM Data Sensors Receiver
ข้อดีของระบบโทรมาตร ขนาดเล็ก เคลื่อนย้ายสะดวก สามารถตรวจสอบข้อมูลได้รวดเร็ว วิเคราะห์ผลของค่าที่ถูกวัด อำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
โครงสร้างการทำงาน GSM Mode 1 = Manual Mode 2 = Automatic
ส่วนอ่านข้อมูล Analog Sensor Sensor 16 ตัว PIC 16F877 A2D Convertor AT Command GSM RS-232
ส่วนการส่งข้อมูล SMS Packet GSM SMS GSM
ส่วนการรับข้อมูล มี Library ในการเรียกใช้การทำงาน รองรับการใช้งานได้หลากหลายภาษา โปรแกรมสำหรับตรวจสอบรายละเอียดของ Packet Application GSM Library USB/ RS-232 Hardware
โทรศัพท์ที่ใช้ในโครงการ Nokia 3220 Pop-Port Data Link Serial Transmission ( RS-232 )
การทดสอบ AT Command การส่ง SMS
การทดสอบ AT Command (ต่อ) การอ่าน SMS
ทดสอบโดย ET-Base Pic16f628A
สรุปการดำเนินงาน ศึกษาโครงสร้างการทำงาน ออกแบบโหมดการทำงานเบื้องต้น จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำงาน ทดสอบการควบคุมโทรศัพท์โดยใช้ Microcontroller
“Q&A” “Thank You”