จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

ชื่อโครงงาน : การอนุรักษ์พลังงานของระบบควบคุมแรงดันน้ำ Inside Outside
ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
การกำหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
การศึกษาและประยุกต์ใช้หน่วยการสร้างในขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูลเจเมทัล Study of Building-Box in Evolutionary algorithm in multi-objective.
แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์อัจริยะ Smart Advertising
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเขียนรายงานการทดลอง
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
PDCA คืออะไร P D C A.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
โครงการจัดตั้ง ศูนย์บริการทางวิศวกรรมและเทคโนโลยี
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเสนอโครงการวิจัย.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การสร้างสื่อ e-Learning
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
การวัดและประเมินผล.
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลัง A STUDY AND TEST OF CASSAVA-ROOT-CONVEYOR จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554

1.ที่มาและความสำคัญ การลำเลียงมันสำปะหลังในปัจจุบันจำเป็นต้องใช้แรงงานที่แข็งแรง มีความเสียงต่อสุขภาพและการบาดเจ็บจากการลำเลียงมันสำปะหลังได้ ใช้เวลามากในการลำเลียงอีกทั้งค่าแรงที่มากกว่าคนงานในหน้าที่อื่นๆ Male strength Accident

ขั้นตอนการทำงานโดยใช้แรงงานคน 1 2 3 การเก็บหัวมัน การยกเข่ง การลำเลียง

2.วัตถุประสงค์ของโครงการ ดังที่ได้กล่าวมาในข้างต้นเกี่ยวกับปัญหาในกรับวนการเก็บเกี่ยวหัวมันสำปะหลัง จากการทดทองเบื้องต้นเกี่ยวกับการลำเลียงมันสำปะหลัง ปัญหาที่พบในขั้นตอนการปฏิบัติงานจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับแรงงานคน จึงได้มีการจัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน ดั้งนี้ 1 ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 2 ทดสอบอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลัง ภายหลังการขุนขึ้นรถบรรทุก

3.ขอบเขตของการศึกษา เพื่อศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกภายหลังการขุด จึงได้วางแผนการดำงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. สำรวจปัญหาของการลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกจากเกษตรกรรายย่อย 2. ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 3. ทดสอบการทำงานของเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการจากขุดแล้ว

4.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้เครื่องลำเลียงต้นแบบ ได้ทราบอัตราการทำงานที่แท้จริง ทราบการทำงานของการเลียงที่เหมาะสม เป็นแนวทางในการปรับปรุงและศึกษาต่อ

5.วิธีการดำเนินการศึกษา ในส่วนของบทนี้เป็นวิธีการดำเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ 1.สำรวจปัญหาของการลำเลียมันสำประหลังและความต้องการลำเลียงมันสำประหลังด้วยเครื่องลำเลียงในปัจจุบัน

สัดส่วนการบรรทุกต่อพื้นที่

2.ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยการทำงานที่มีผลต่ออัตราการทำงานของแรงคนในแต่ละขั้นตอนการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกในปัจจุบัน

2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง 3.ศึกษาเครื่องลำเลียง 1.แขนประคอง 2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง 7.กระบอกปรับความสูง 8.เสาค้ำยัน

4.แทรกเตอร์ที่ใช้เป็นต้นกำลัง แทรกเตอร์ที่ใช้ KOBUTA ขนาด 46

6.ผลการทดสอบและอภิปลายผล VDO TESTING

1.ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด6 เข่ง

2.ทดสอบการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกด้วยเครื่องลำเลียง แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คน

แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คน

กราฟแสดงการทำงาน การลำเลียงตั้งแต่2 คนขึ้นไปจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้นในการลำเลียงจะต้องใช้คนตั้งแต่สองคนขึ้นไป

7.สรุปผล ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2 และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด 6 เข่งได้อัตราการทำงาน 0.6,2.7และ2.9 (ไร่/คน-ชม.) ตามลำดับ แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.49,7.81และ7.74 (ตัน/ hr) เวลาในการเท49.15,50.20และ48.74 (ตัน/ hr) แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.41,7.71และ8.90 (ตัน/ hr) เวลาในการเท 49.88, 44.78 และ 45.69 (ตัน/ hr)

ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเร็วของรอบเครื่องยนต์ เพราะถ้าความเร็วของรอบเครื่องยนต์เปลี่ยนไป ความสารารถในการยกน้ำหนักมันสำปะหลังจะเปลี่ยนไปด้วย ควรมีการทดสอบการทำงานในพื้นที่จริงเพื่อหาความสามารถในการทำงานเชิงพื้นที่ของอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด อุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุดยังต้องมีการปรับปรุงอีกหลายปัจจัย ควรมีศึกษาถึงจุดคุ้มทุนของอุปกรณ์ลำลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด

จบการนำเสนอ ขอขอบคุณครับ