การศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลัง A STUDY AND TEST OF CASSAVA-ROOT-CONVEYOR จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
1.ที่มาและความสำคัญ การลำเลียงมันสำปะหลังในปัจจุบันจำเป็นต้องใช้แรงงานที่แข็งแรง มีความเสียงต่อสุขภาพและการบาดเจ็บจากการลำเลียงมันสำปะหลังได้ ใช้เวลามากในการลำเลียงอีกทั้งค่าแรงที่มากกว่าคนงานในหน้าที่อื่นๆ Male strength Accident
ขั้นตอนการทำงานโดยใช้แรงงานคน 1 2 3 การเก็บหัวมัน การยกเข่ง การลำเลียง
2.วัตถุประสงค์ของโครงการ ดังที่ได้กล่าวมาในข้างต้นเกี่ยวกับปัญหาในกรับวนการเก็บเกี่ยวหัวมันสำปะหลัง จากการทดทองเบื้องต้นเกี่ยวกับการลำเลียงมันสำปะหลัง ปัญหาที่พบในขั้นตอนการปฏิบัติงานจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับแรงงานคน จึงได้มีการจัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน ดั้งนี้ 1 ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 2 ทดสอบอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลัง ภายหลังการขุนขึ้นรถบรรทุก
3.ขอบเขตของการศึกษา เพื่อศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกภายหลังการขุด จึงได้วางแผนการดำงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. สำรวจปัญหาของการลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกจากเกษตรกรรายย่อย 2. ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 3. ทดสอบการทำงานของเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการจากขุดแล้ว
4.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้เครื่องลำเลียงต้นแบบ ได้ทราบอัตราการทำงานที่แท้จริง ทราบการทำงานของการเลียงที่เหมาะสม เป็นแนวทางในการปรับปรุงและศึกษาต่อ
5.วิธีการดำเนินการศึกษา ในส่วนของบทนี้เป็นวิธีการดำเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ 1.สำรวจปัญหาของการลำเลียมันสำประหลังและความต้องการลำเลียงมันสำประหลังด้วยเครื่องลำเลียงในปัจจุบัน
สัดส่วนการบรรทุกต่อพื้นที่
2.ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยการทำงานที่มีผลต่ออัตราการทำงานของแรงคนในแต่ละขั้นตอนการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกในปัจจุบัน
2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง 3.ศึกษาเครื่องลำเลียง 1.แขนประคอง 2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง 7.กระบอกปรับความสูง 8.เสาค้ำยัน
4.แทรกเตอร์ที่ใช้เป็นต้นกำลัง แทรกเตอร์ที่ใช้ KOBUTA ขนาด 46
6.ผลการทดสอบและอภิปลายผล VDO TESTING
1.ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด6 เข่ง
2.ทดสอบการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกด้วยเครื่องลำเลียง แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คน
แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คน
กราฟแสดงการทำงาน การลำเลียงตั้งแต่2 คนขึ้นไปจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้นในการลำเลียงจะต้องใช้คนตั้งแต่สองคนขึ้นไป
7.สรุปผล ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2 และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด 6 เข่งได้อัตราการทำงาน 0.6,2.7และ2.9 (ไร่/คน-ชม.) ตามลำดับ แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.49,7.81และ7.74 (ตัน/ hr) เวลาในการเท49.15,50.20และ48.74 (ตัน/ hr) แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.41,7.71และ8.90 (ตัน/ hr) เวลาในการเท 49.88, 44.78 และ 45.69 (ตัน/ hr)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเร็วของรอบเครื่องยนต์ เพราะถ้าความเร็วของรอบเครื่องยนต์เปลี่ยนไป ความสารารถในการยกน้ำหนักมันสำปะหลังจะเปลี่ยนไปด้วย ควรมีการทดสอบการทำงานในพื้นที่จริงเพื่อหาความสามารถในการทำงานเชิงพื้นที่ของอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด อุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุดยังต้องมีการปรับปรุงอีกหลายปัจจัย ควรมีศึกษาถึงจุดคุ้มทุนของอุปกรณ์ลำลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณครับ