หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
Advertisements

ดนตรีไทยวงเครื่องสายบนโทรศัพท์มือถือ Siam String Musical on Mobile
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
โปรแกรมจำลองการทำงาน
ระบบตรวจสอบคลังสินค้าเครื่องประดับทองรูปพรรณและเพชรพลอย โดยใช้เทคโนโลยีการจำแนกด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
การพัฒนาโปรแกรมป้องกันและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ (Anti-Virus)
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
การพัฒนาโปรแกรมป้องกันและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์
LOGO COE COE ผู้จัดทำโครงการ นายณัฐพงษ์ ทุมมาลา นายทินกร เหมหงษ์ การพัฒนาเกม 3 มิติ ด้วยชุดพัฒนาเกม ไมโครซอฟต์ เอ็กซ์เอ็นเอ เกมส์สตูดิโอ Developing.
ผู้จัดทำโครงการ นายณัฐพงษ์ ทุมมาลา นายทินกร เหมหงษ์
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Low-speed UAV Flight Control Phase II
เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยใช้PC
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
อักษรเบรลล์เชิงกล (Braille Cell)
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
COE Electronic Voting System
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
COE PC Based Electrocardiograph
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
LOGO COE COE ผู้จัดทำโครงการ นายณัฐพงษ์ ทุมมาลา นายทินกร เหมหงษ์ การพัฒนาเกม 3 มิติ ด้วยชุดพัฒนาเกม ไมโครซอฟต์ เอ็กซ์เอ็นเอ เกมส์สตูดิโอ Developing.
COE Electronic Voting System
การเขียนผังงาน.
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
โดย นางสาวทัศนียา โสดาสร้อย รหัส นายอรรถพล ทะแพงพันธ์ รหัส
COE : Microcat. ผู้พัฒนาโครงการ นาย สราวุฒิ สมญาติ อาจารย์ที่ปรึกษา อ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติ กูล อาจารย์ร่วมประเมิน อ. วสุ เชาว์พานนท์ อ. ดารณี หอมดี
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
Low-Speed UAV Flight Control System
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการขนส่งน้ำมันกรณีศึกษาบริษัทแสงชัยโชค.
Surachai Wachirahatthapong
ระบบกลไก.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการคำนวณพื้นที่วงกลม
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
นางสาวชุติมา อักขราภรณ์ ตอนB19
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาโปรแกรมสำหรับเครื่องสแกนวัตถุสามมิติ (Program development for 3D scanner ) หมายเลขโครงการ : COE2007-13 ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส 473040590-2 นางสาวปฐมรัก วงศ์ดินดำ รหัส 473040592-8 อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์รุจชัย อึ้งอารุณยะวี อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน : 1. ผศ.ดร.ดารณี หอมดี 2. อ.ดร.นวภัค เอื้ออนันต์

หัวข้อในการนำเสนอ ที่มาและจุดประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ การออกแบบโครงการ MicroScribe G2 Delaunay algorithm โปรแกรมแสดงภาพกราฟิกที่มีรูปแบบของข้อมูล โปรแกรมแสดงภาพกราฟิกสำหรับกลุ่มจุด (point cloud) บทสรุปการดำเนินการ ปัญหาในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ

ที่มาและจุดประสงค์ของโครงการ พัฒนาโปรแกรมสำหรับเครื่องสแกนวัตถุสามมิติเพื่อให้สามารถแสดงภาพกราฟิกสามมิติของวัตถุที่ทำการสแกนได้ พัฒนาโปรแกรมให้สามารถติดต่อกับเครื่องสแกนวัตถุได้โดยตรง เพื่อลดต้นทุนในการจัดซื้อซอฟท์แวร์สำเร็จรูป

ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมเพื่อให้สามารถใช้งานกับเครื่องสแกนวัตถุสามมิติ MicroScribe G2 เท่านั้น ใช้ software XNA ที่เขียนด้วย C# ในการพัฒนาโปรแกรม สามารถใช้กับชิ้นงานที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก

การออกแบบโครงการ แสดงการพล็อตจุด บนจอแสดงผล โปรแกรมประมวลผลภาพกราฟิก สแกนวัตถุด้วยเครื่องสแกน MicroScribe G2 แสดงการพล็อตจุด บนจอแสดงผล โปรแกรมประมวลผลภาพกราฟิก ด้วย Software XNA แสดงผลทางจอภาพ เก็บข้อมูลพิกัดจุดที่ได้จาก การสแกนไว้ในไฟล์ จบการทำงาน กดปุ่ม D สิ้นสุดการสแกนวัตถุ กดปุ่ม S กดปุ่ม L กดปุ่ม I ตำแหน่งของวัตถุ

MicroScribe G2 MicroScribe เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Immersion Corporation สามารถ scan วัตถุได้อย่างรวดเร็วทั้งในแบบ อัตโนมัติและแบบ manual ใช้งานสะดวก แขนกลสามารถปรับหมุน หรือกางออกได้ มี “Touch probe” ทำหน้าที่เป็น scanner ใช้งานร่วมกับ application อื่นๆได้เช่น การส่ง ข้อมูลพิกัดของวัตถุที่ scan ได้ไปยังโปรแกรม NotePad, WordPad หรือ Excel มีซอฟท์แวร์การใช้งานโดยเฉพาะ Touch Probe

Delaunay Algorithm เป็นอัลกอริทึ่มที่ใช้ในการสร้าง wire frameโมเดลสามเหลี่ยม

โปรแกรมแสดงภาพกราฟิกที่มีรูปแบบของข้อมูล

โปรแกรมแสดงภาพกราฟิกสำหรับกลุ่มจุด (point cloud)

โปรแกรมแสดงภาพกราฟิกสำหรับกลุ่มจุด (point cloud)

บทสรุปผลการดำเนินการ การสร้างภาพกราฟิกของข้อมูลจุดการสแกนที่มีรูปแบบในการเก็บข้อมูลนั้นสามารถทำได้ง่ายกว่า การสร้างภาพกราฟิกจากข้อมูลจุดที่มีการเก็บข้อมูลแบบสุ่มเป็นกลุ่มจุด ( point cloud ) เลือกใช้ Delaunay Algorithm ในการสร้างเฟรมโมเดลสามเหลี่ยมของกลุ่มจุด ( point cloud ) Delaunay Algorithm มีข้อจำกัดในการสร้างภาพกราฟิก ในเรื่องของรูปทรงของวัตถุ

ข้อเสนอแนะ ศึกษารูปแบบการทำงานของ XNA ศึกษาทฤษฎีการสร้าง wire frame ของ Delaunay Algorithm ศึกษาขั้นตอนในการสร้างภาพกราฟิก การพล็อตข้อมูลจุดที่ได้จากการสแกน การสร้าง wire frame การสร้างพื้นผิวและเพิ่มแสงให้กับภาพกราฟิก

ปัญหาที่พบในการดําเนินงาน การปรับปรุงโปรแกรมแสดงภาพกราฟิกให้สามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่อง MicroScribe G2 เพื่อทำการรับข้อมูลมาแสดงภาพกราฟิก ต้องใช้เวลาในการศึกษาและแก้ไข การสร้าง wire frame เพื่อแสดงภาพพื้นผิวมีความซับซ้อน ต้องใช้เวลาในการค้นคว้าและทดสอบ การสร้าง normal vector จาก point เพียง 1 point ปัญหาขอบเขตการใช้งานของ delaunay algorithm คือ ไม่สามารถสร้าง wire frame ของวัตถุที่รูปทรงโค้งเว้าได้ MicroScribe G2 จะอ้างอิงจุด origin ในการสแกนวัตถุระหว่างฐานของเครื่องกับตำแหน่งของวัตถุ จึงไม่สามารถเปลี่ยนตำแหน่งของเครื่องสแกนและวัตถุได้จนกว่าการสแกนวัตถุนั้นจะเสร็จสิ้น

แนวทางในการประยุกต์และพัฒนาต่อไป ศึกษาหลักการและรูปแบบการทำงานของทฤษฎี Delaunay ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทำการสร้างอัลกอรึทึมในการสร้างเฟรมโมเดลสามเหลี่ยมขึ้นใช้งานเองซึ่งต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้า โปรแกรมนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับอุปกรณ์การสแกนอื่นๆ เพียงแต่ต้องทราบถึงรูปแบบการส่งข้อมูลของเครื่องสแกนนั้นๆ

Thank You Any question ?