Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
รหัส หลักการตลาด.
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
บทที่ 4 บทบาทของนวัตกรรม
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
MK201 Principles of Marketing
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
ผลิตสินค้าและบริการ.
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Free Trade Area Bilateral Agreement
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
การเขียนโครงการ.
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
การเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจในอนาคต 29 กันยายน 2553 โดย นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
โลกนี้มีพื้นที่รวม 515 ล้าน ตร.ก.ม. ใหญ่กว่าประเทศไทย 1,004 เท่า
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
การพัฒนาตนเอง.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ EC 451 Lecture 2 Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ

Trade Questions ทำไมถึงมีการ trade Trade จะมีรูปแบบอย่างไร ความพยายามที่จะตอบคำถามเหล่านี้มีมานานหลายศตวรรษ และมีการพัฒนาแนวคิดไปเป็นพื้นฐานของทฤษฎีการค้าฯในปัจจุบัน

แนวคิดดังกล่าวยังคงสะท้อนให้เห็นอยู่ในทฤษฎียุคปัจจุบัน ประเทศที่ทำการค้ากันได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน (Gain from Trade) ประเทศต่างๆมีทรัพยากรต่างกันจึงนำไปสู่การค้าระหว่างกัน เป็นพื้นฐานของ Hecksher-Ohlin Model

พาณิชย์นิยม (Mercantilism) 17th and 18th century รัฐต้องสร้างความมั่งคั่งให้มากที่สุด (สะสมทองคำ) ความมั่งคั่งของรัฐ (ชนชั้นปกครอง) ถูกตีความว่าคือความมั่งคั่งของชนชาติ สงครามเกิดขึ้นบ่อย ทองคำและความมั่งคั่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการสร้างกองทัพ เชื่อว่าวิธีการสร้างความมั่งคั่งของรัฐคือส่งออกให้มากที่สุด นำเข้าให้น้อยที่สุด This type of thinking still resonates in modern day debates.

เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare พาณิชย์นิยมยังสนับสนุนแนวคิดในเรื่องการให้สัมปทานผูกขาดการทำการค้า British East India Company เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare สอดคล้องกับการเกิดขึ้นของรัฐ (the nation state)

Mercantilism ในยุคหลัง ในที่สุด mercantilist authors เริ่มตระหนักว่าแนวคิดของตนไม่ประสบความสำเร็จเพราะในระยะยาวจะนำไปสู่ปัญหาในดุลการชำระเงิน in the long run, more exports requires more imports แนวคิดเปลี่ยนไปสู่การเลือกคุ้มครองบางอุตสาหกรรม important for development increase employment รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมที่เป็นอนาคตของชาติ แม้อาจต้องยอมแลกกับผลประโยชน์ปัจจุบันของเอกชน

แนวคิดของ mercantilist ยุคหลังเป็นพื้นฐานเดียวกันกับทฤษฎียุคปัจจุบันในส่วนของ Picking-up-the-Winner Industrial Policy Infant Industry Argument

Adam Smith – Wealth of Nations (1776) โต้แย้งแนวคิดของ mercantilist ที่ว่าประโยชน์แห่งชาติจะสูงสุดเมื่อรัฐเข้าแทรกแซง Smith เชื่อใน Invisible hands ของกลไกตลาด เชื่อว่ารัฐบาลมีขีดความสามารถจำกัด ไม่รู้ว่าแทรกแซงอย่างไร ขนาดไหนจึงเหมาะสม การแทรกแซงเอื้อให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มผลประโยชน์ (rent-seeking activities) ซึ่งจะทำให้สวัสดิการเศรษฐกิจถดถอย Smith เชื่อว่าชาติที่ปล่อยให้เอกชนทำการค้าโดยเสรีจะมีสวัสดิการเศรษฐกิจดีขึ้นกว่ากีดกันการค้า Free Trade Specialization on basis of absolute advantage.

Smith’s contributions ผสานแนวคิดของ natural rights กับ universal economy arguments ริเริ่ม concept ของ opportunity costs Absolute advantage economic welfare

Absolute advantage (ความได้เปรียบสัมบูรณ์) or ประเทศ ก มี absolute advantage เหนือประเทศ ข ในสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อประเทศ ก สามารถผลิตสินค้านั้นได้จำนวนเท่ากับประเทศ ข โดยใช้ทรัพยากรการผลิตน้อยกว่า

Example ผลผลิคต่อ man-hour ราคาในประเทศ (ถั่วเหลืองต่อผ้า) 3:2 1:4 If each country specializes and trade ราคาตลาดโลก 3:4 3:4 Gains from Trade 2 Bolts of cloth 2 tons of soybean

ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่? Next Topic ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่? the Ricardian model of trade based on comparative advantage.