Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ EC 451 Lecture 2 Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Trade Questions ทำไมถึงมีการ trade Trade จะมีรูปแบบอย่างไร ความพยายามที่จะตอบคำถามเหล่านี้มีมานานหลายศตวรรษ และมีการพัฒนาแนวคิดไปเป็นพื้นฐานของทฤษฎีการค้าฯในปัจจุบัน
แนวคิดดังกล่าวยังคงสะท้อนให้เห็นอยู่ในทฤษฎียุคปัจจุบัน ประเทศที่ทำการค้ากันได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน (Gain from Trade) ประเทศต่างๆมีทรัพยากรต่างกันจึงนำไปสู่การค้าระหว่างกัน เป็นพื้นฐานของ Hecksher-Ohlin Model
พาณิชย์นิยม (Mercantilism) 17th and 18th century รัฐต้องสร้างความมั่งคั่งให้มากที่สุด (สะสมทองคำ) ความมั่งคั่งของรัฐ (ชนชั้นปกครอง) ถูกตีความว่าคือความมั่งคั่งของชนชาติ สงครามเกิดขึ้นบ่อย ทองคำและความมั่งคั่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการสร้างกองทัพ เชื่อว่าวิธีการสร้างความมั่งคั่งของรัฐคือส่งออกให้มากที่สุด นำเข้าให้น้อยที่สุด This type of thinking still resonates in modern day debates.
เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare พาณิชย์นิยมยังสนับสนุนแนวคิดในเรื่องการให้สัมปทานผูกขาดการทำการค้า British East India Company เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare สอดคล้องกับการเกิดขึ้นของรัฐ (the nation state)
Mercantilism ในยุคหลัง ในที่สุด mercantilist authors เริ่มตระหนักว่าแนวคิดของตนไม่ประสบความสำเร็จเพราะในระยะยาวจะนำไปสู่ปัญหาในดุลการชำระเงิน in the long run, more exports requires more imports แนวคิดเปลี่ยนไปสู่การเลือกคุ้มครองบางอุตสาหกรรม important for development increase employment รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมที่เป็นอนาคตของชาติ แม้อาจต้องยอมแลกกับผลประโยชน์ปัจจุบันของเอกชน
แนวคิดของ mercantilist ยุคหลังเป็นพื้นฐานเดียวกันกับทฤษฎียุคปัจจุบันในส่วนของ Picking-up-the-Winner Industrial Policy Infant Industry Argument
Adam Smith – Wealth of Nations (1776) โต้แย้งแนวคิดของ mercantilist ที่ว่าประโยชน์แห่งชาติจะสูงสุดเมื่อรัฐเข้าแทรกแซง Smith เชื่อใน Invisible hands ของกลไกตลาด เชื่อว่ารัฐบาลมีขีดความสามารถจำกัด ไม่รู้ว่าแทรกแซงอย่างไร ขนาดไหนจึงเหมาะสม การแทรกแซงเอื้อให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มผลประโยชน์ (rent-seeking activities) ซึ่งจะทำให้สวัสดิการเศรษฐกิจถดถอย Smith เชื่อว่าชาติที่ปล่อยให้เอกชนทำการค้าโดยเสรีจะมีสวัสดิการเศรษฐกิจดีขึ้นกว่ากีดกันการค้า Free Trade Specialization on basis of absolute advantage.
Smith’s contributions ผสานแนวคิดของ natural rights กับ universal economy arguments ริเริ่ม concept ของ opportunity costs Absolute advantage economic welfare
Absolute advantage (ความได้เปรียบสัมบูรณ์) or ประเทศ ก มี absolute advantage เหนือประเทศ ข ในสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อประเทศ ก สามารถผลิตสินค้านั้นได้จำนวนเท่ากับประเทศ ข โดยใช้ทรัพยากรการผลิตน้อยกว่า
Example ผลผลิคต่อ man-hour ราคาในประเทศ (ถั่วเหลืองต่อผ้า) 3:2 1:4 If each country specializes and trade ราคาตลาดโลก 3:4 3:4 Gains from Trade 2 Bolts of cloth 2 tons of soybean
ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่? Next Topic ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่? the Ricardian model of trade based on comparative advantage.