องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นำเสนอ เรื่อง x.25.
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบ Internet
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
COMPUTER NETWORK ชายชาญ กุศลจิตกรณ์.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
OSI MODEL.
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
TCP/IP.
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
05/04/60 Networking Devices 4 Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
Introduction to Network
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
Network Management and Design
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
NETWORK.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Computer Made by Godsaider. สถาปัตยกรรมเครือข่าย มนุษย์ติดต่อสื่อสารกันได้นั้นเพราะใช้ภาษา เดียวกันในการติดต่อพูดคุยแต่ถ้าพูดกันคนละภาษาก็จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ได้ประสิทธิภาพหรือไม่เข้าใจ.
บทที่ 7 Networks and Data Communications
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต. LAN Overview LANs were created to save time, money, and enable users to share information and resources more easily.
HI!!!! How do you do?. hardware/network.html hardware/network.html เป็นเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รายวิชา องค์ประกอบคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล รหัสวิชา ง40101 ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 โดย นายบุญนที ศักดิ์บุญญารัตน์

ความเป็นมาของระบบเครือข่าย การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาท และความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่างๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน การเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร

Network Concept การนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในองค์กรหรือหน่วยงานเริ่มมีการพัฒนาขึ้นแทนที่จะใช้ในลักษณะหนึ่งเครื่องต่อหนึ่งคน ก็ให้มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และข้อมูลต่างๆร่วมกัน โดยนำคอมพิวเตอร์มาต่อเชื่อมกัน ซึ่งเรียกสิ่งนี้ว่า “ระบบแลน” ในปัจจุบันระบบแลนถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการจัดระบบการใช้งาน นิยามความหมายของเนตเวิร์กสามารถจำกัดได้มากมายหลายวิธี เช่น

Network Concept ตามขนาด: แบ่งเป็น Workgroup, LAN, MAN และ WAN ลักษณะการทำงาน: แบ่งเป็น Peer-to-peer และ client-server ตามรูปแบบ: แบ่งเป็น Bus, Ring และ Star ตาม Bandwidth: แบ่งเป็น base band และ broadband หรือว่าเป็น megabits และ gigabits ต่อวินาที ตามสถาปัตยกรรม: แบ่งเป็น Ethernet หรือ Token-Ring

Network Concept การเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นระบบเครือข่ายเนตเวิร์ก ที่มีการนำมาใช้กันมาก ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระบบ คือ ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network หรือ WAN) ระบบเครือข่ายเนตเวิร์กระยะกลาง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) ระบบเครือข่ายเนตเวิร์กระยะใกล้ (Local Area Network หรือ LAN)

สถาปัตยกรรมเครือข่ายและโปรโตรคอล การสื่อสารข้อมูลกัน นั้นย่อยต้องมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มากกว่า 1 เครื่องเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งการสื่อสารข้อมูลกันระหว่างอุปกรณ์ที่ต่างผู้ผลิต หรือต่างรุ่น ก็อาจจะทำให้เกิดความแตกต่าง ในการกำหนดรูปแบบ ของข้อมูล และรูปแบบการส่งข้อมูล ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการกำหนดมาตาราฐานทางการสื่อสารข้อมูลขึ้นมา ตัวอย่างเช่น Open System International (OSI) TCP / IP SNA

สถาปัตยกรรมเครือข่ายและโปรโตรคอล

สถาปัตยกรรมเครือข่ายและโปรโตรคอล M= Message H = Header T = Tailor การส่งการรับข้อมูลผ่านชั้นเลเยอร์ของสถาปัตยกรรมเครือข่าย

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI จุดมุ่งหมายของการกำหนดการแบ่งโครงสร้าง แต่ละเลเยอร์จะต้องมีการทำงานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี จัดกลุ่มหน้าที่การทำงานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน เลือกเฉพาะการทำงานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสำเร็จแล้ว กำหนดหน้าที่การทำงานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าในอนาคตถ้ามีการ ออกแบบเลเยอร์ใหม่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลใหม่ในอันที่จะทำให้สถาปัตยกรรม มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น จะไม่มีผล ทำให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่เคยใช้อยู่เดิมจะต้องเปลี่ยนแปลง 5. กำหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน 6. ให้มีการยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์ 7. สำหรับเลเยอร์ของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7 ข้อแรก

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI เลเยอร์ มาตรฐาน รายละเอียด 7 ISO 8571 ISO 8572 การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ISO 8831 ISO 8832 โปรโตคอลการบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ISO 9040 ISO 9041 การบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน โปรโตคอลการบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน CCITT X.400 ไปรษณีย์อิเล็คทรอนิกส์ และกักเก็บข่าวสาร 6 ISO 8822 ISO 8823 การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Presentation โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Presentation 5 ISO 8326 ISO 8327 การบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Session โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Session 4 ISO 8072 ISO 8073 การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Transport โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-orientedในเลเยอร์ Transport 3 CCITT X.25 โปรโตคอล X.25 ในเลเยอร์ Network 2 ISO 8802 (IEEE 802) โปรโตคอลสำหรับเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) โปรโตคอล SDLC,HDLC ในเลเยอร์ Data Link 1 CCITT X.21 ดิจิตอลอินเตอร์เฟซของเลเยอร์ Physical

สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI

OSI And TCP/IP

TCP/IP

Network

Networks Devices

Physical Topologies Bus Network Topologies

Physical Topologies (Con.) Start Network Topologies

Physical Topologies (Con.) Ring Network Topologies

Physical Topologies (Con.) Tree Network Topologies

Cabling Cabling Terms

Type of Cabling Coaxial Cable

Type of Cabling (con.) TWISTED PAIR CABLING (STP and UTP)

Type of Cabling (con.) TWISTED PAIR CABLING (STP and UTP)

Type of Cabling (con.)

Type of Cabling (con.)

Type of Cabling (con.)

Type of Cabling (con.)

Type of Cabling (con.) UTP cat. 6

Type of Cabling (con.) Fiber CABLING

Type of Cabling (con.) Fiber CABLING

Type of Cabling (con.) Fiber CABLING