งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
การเรียกชื่อเครือข่าย และลักษณะการเชื่อมโยง ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น ประเภทของเครือข่ายต่างๆ ความหมายของ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของการสื่อสาร ข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย

2 การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หมายถึง การโอนถ่ายข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทาง ทั้งข้อมูลประเภทข้อความ รูปภาพ เสียง หรือข้อมูลสื่อผสม โดยผู้ส่งต้นทางส่ง ข้อมูล ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทาง

3 องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) 2. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ข่าวสาร (Massage) 4. สื่อกลางหรือตัวกลางในการนำส่ง ข้อมูล (Medium) 5. โปรโตคอล (Protocol)

4 องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล

5 ชนิดของการสื่อสาร การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission)

6 สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย
สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง

7 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน
(Half Duplex Transmission)

8 3.. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
(Full Duplex Transmission)

9 ประเภทของสัญญาณ 1. สัญญาณแบบดิจิทัล (Digitals signal)
มี 2 ลักษณะ คือ.... 1. สัญญาณแบบดิจิทัล (Digitals signal) 2. สัญญาณอนาลอก (Analog Signal)

10 1. สัญญาณแบบดิจิทัล (Digitals signal)

11 2. สัญญาณแบบอนาลอก (Analog signal)

12 ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คือการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยสายเคเบิลเชื่อมระหว่างพอร์ดเครื่องพิมพ์ในการรับส่ง แฟ้มข้อมูลระหว่างกันหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้

13 กฏเกณฑ์การทำงานภายใต้พื้นฐานเดียวกัน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย 1. ข้อมูลที่ส่งและรับจะต้องถูกต้องและไม่สูญหาย 2. สามารถจำแนกข้อมูลที่ถูกส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดได้ 3. สามารถแยกแยะเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในระบบได้ 4. มีมาตรฐานการตั้งชื่อและบ่งชี้ได้ชัดเจน

14 องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย
ผู้ส่ง(Sender) ผู้รับ(Receiver) ตัวกลางส่งข้อมูล ผู้รับ ผู้ส่ง

15 ทำไม ต้องสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานร่วมกัน 2. ให้ข้อมูลได้จำนวนมากในเวลาเดียวกัน 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้หลากหลาย 4. เก็บข้อมูลที่สำคัญในศูนย์ข้อมูลส่วนกลาง 5. ลดความซับซ้อนของอุปกรณ์หรือใช้อุปกรณ์ร่วมกัน 6. มีความรวดเร็วในการสื่อสารข้อมูล

16 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้ LAN WAN MAN สื่อการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ง31101จัดทำโดยคุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลม

17 เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ LAN (Local Area Network)
1. เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้ภายในสำนักงานอาคารเดียวกัน 2. การเชื่อมต่อใช้สายเคเบิล สายโคแอกซ์ หรือสายใยแก้ว ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงานและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้ 3. ใช้ในโรงเรียน มหาวิทยาลัย บริษัท ห้างร้าน สื่อการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ง31101จัดทำโดยคุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลม

18 เครือข่ายบริเวณนครหลวง
MAN (Metropolitan Area Network) 1. เป็นเครือข่ายในเขตเมืองเดียวกัน 2. เป็นเครือข่ายขนาดกลางอำนวยความสะดวก ให้แก่ประชาชนของเมืองนั้นหรือเขตการปกครองนั้น 3. ดังเช่น เครือข่ายของรัฐต่าง ๆ ในอเมริกา

19 เครือข่ายบริเวณกว้าง
WAN ( Wide Area Network) 1. เป็นเครือข่ายระยะไกลครอบคลุมทั้งประเทศ ระหว่างประเทศ หรือทั่วโลก 2. ตัวกลางในการสื่อสาร ดาวเทียม สายใยแก้วนำแสง หรือคลื่นไมโครเวฟ 3. เครือข่ายประเภทนี้คือเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

20 การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนคือ 1. ฮาร์ดแวร์หรือเครือข่ายเชิงกายภาพหรืออุปกรณ์เครือข่ายได้แก่ สายนำสัญญาณ แผงวงจรเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์อื่น ๆ ในการรับ-ส่งข้อมูล 2. ซอฟต์แวร์ที่กำหนดกฎเกณฑ์ในการจัดการเกี่ยวกับอุปกรณ์ ให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ง31101จัดทำโดยคุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลม

21 1. ฮาร์ดแวร์หรือเครือข่ายเชิงกายภาพ(Physical Networking)
ลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายเชิงกายภาพ แบ่งได้เป็น 4 แบบ 1. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ BUS Topology 2. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Star Topology 3. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Ring Topology 4. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Tree Topology

22 2. ซอฟต์แวร์หรือส่วนการจัดการเครือข่ายเชิงตรรกะ
เป็นซอฟต์แวร์ควบคุมการถ่ายโอนข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องบริการ(Server)และ เครื่องรับบริการ(Client) ให้ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง

23 ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จำแนกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้... 1. เซิร์ฟเวอร์ (Server) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ 2. เวิร์กสเตชัน (Workstation) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปที่สามารถ ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆได้ 3.ไคลเอนต์(Client) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเรียกใช้ข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ 4.เทอร์มินัล (Terminal) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย จอภาพ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ เทอร์มินัลไม่สามารถประมวลผลข้อมูลได้ด้วยตนเอง แต่ใช้การ สื่อสารข้อมูลกับเซิร์ฟเวอร์ให้ทำการประมวลผลและส่งผลข้อมูลปรากฎบนจอภาพได้ สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง

24 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (bus topology)
เครื่องคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลหลัก สัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลของแต่ละเครื่อง ข้อดี 1.ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย 2.เครื่องใดเสียไม่กระทบ ต่อการทำงานระบบรวม ข้อเสีย 1.การตรวจจุดที่เสียทำได้ยาก 2.เครื่องคอมฯมีมากเกินไปการส่ง ข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา

25 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน ( ring topology )
การส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเป็นวงกลม ข้อดี 1.ใช้สายเคเบิลน้อย 2.ตัดเครื่องที่เสียออก ระบบทำงานต่อไปได้ปกติ 3.จะไม่มีการชนกันของข้อมูล ข้อเสีย เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง ใดเครื่องหนึ่งขัดข้องเครือข่ายชนิดนี้ ไม่สามารถทำงานต่อไปได้

26 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)
จะต้องมีจุดศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อ และจะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่นๆ ฮับ hub ข้อดี ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เครื่องใหม่สามารถทำได้ง่ายและ ไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ข้อเสีย 1.ค่าใช้จ่ายการใช้สายเคเบิ้ลสูง 2. ถ้าฮับไม่ทำงานทั้งระบบ ก็จะหยุดทำงานไปด้วย

27 การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Tree Topology
Server Hub Hub Hub Hub Workstation Workstation Workstation

28 การสื่อสารข้อมูล data communication ข้อมูล สื่อนำข้อมูล ผู้ส่ง ผู้รับ
ขั้นตอน 1. ขั้นตอน 2. ขั้นตอน 3. ขั้นตอน 4. ขั้นตอน 1. ขั้นตอน 2. ขั้นตอน 3. ขั้นตอน 4. ข้อมูล สื่อนำข้อมูล ผู้ส่ง ผู้รับ

29 โมเด็ม MODEM เป็นอุปกรณ์ที่แปลงสัญญาณดิจิตอลจากเครื่องคอมพิวเตอร์
ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกขั้นตอนนี้ว่า modulation และแปลงสัญญาณแอนะล็อกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นสัญญาณดิจิตอล เรียกขั้นตอนนี้ว่า demodulation

30 โมเด็ม MODEM โมเด็มภายนอก โมเด็มภายใน
External modem โมเด็มภายใน Internal modem เป็นอุปกรณ์ที่แยกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ และเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ทางพอร์ต อนุกรม(serial port)ด้วยสายเคเบิ้ล ข้อดีคือเคลื่อนย้ายได้ง่าย เป็นการ์ดที่ใช้เสียบกับแผงวงจรหลัก ของคอมพิวเตอร์ข้อดี ประหยัดพื้นที่ ใช้งานและราคาถูกกว่าโมเด็มภายนอก โมเด็มไร้สาย Wireless modem มีลักษณะคล้ายโมเด็มภายนอกโดยโมเด็มภายนอกจะเชื่อมต่อพอร์ต ( port) โดยใช้สายโทรศัพท์ แต่โมเด็มไร้สายจะสื่อสารโดยใช้เคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

31 การเชื่อมต่อของโมเด็ม
bps modulation โมเด็ม HZ demodulation บิตเรต(Bit rate) เป็นอัตราความเร็วในการส่ง ข้อมูลของสัญญาณดิจิตอล เช่น 14,400 bps หมายถึงมีความเร็วใน การส่ง ข้อมูลจำนวน 14,400 บิตในระยะเวลา 1วินาที โมเด็ม

32 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Router ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อภายในแตกต่างกัน หรือเชื่อมระหว่าง LAN และ WAN

33 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Switch ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน หรือต่างกันก็ได้ Bandwidth 10/100/1000 Mbps แต่ละพอร์ตไม่มีการใช้งานร่วมกัน

34 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Hub ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน Bandwidth 10/100/1000 Mbps แต่ละพอร์ตใช้งานร่วมกัน(เชื่อมกันหมด)

35 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความแตกต่างระหว่าง Hub และ Switch Hub จะส่งข้อมูลที่เข้ามาไปยังทุกๆ พอร์ตของ Hub ยกเว้นพอร์ตที่ข้อมูลดังกล่าวเข้ามายัง Hub ในขณะที่ Switch จะทำการเรียนรู้อุปกรณ์ที่ต่อกับพอร์ตต่างๆ ทำให้ Switch ส่งข้อมูลไปยังพอร์ตที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ไม่ส่งไปทุกๆ พอร์ตเหมือนกับ Hub ซึ่งส่งผลให้ปริมาณข้อมูลภายในระบบเครือข่ายไม่มากเกินความจำเป็น Hub เป็นเพียงตัวขยายสัญญาณข้อมูล (Repeater) เท่านั้น ในขณะที่ Switch จะมีการทำงานที่ซับซ้อนกว่า, มีการเรียนรู้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ, การตัดสินใจส่งข้อมูลออกไปพอร์ตใด

36 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ethernet Card ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายผ่านทาง Switch หรือ Hub Bandwidth 10/100/1000 Mbps

37 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ไฟสถานะของEthernet Card

38 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ไฟสถานะของEthernet Card LINK ถ้าสว่างแสดงว่า มีการเสียบสายแลนเข้ากับการ์ด และสามารถใช้งานได้ 10 ถ้าสว่างแสดงว่า อุปกรณ์นี้เชื่อมต่อด้วยความเร็ว 10 MB/s เช่นเดียวกับไฟ 100 ถ้าสว่างแสดงว่าเชื่อมด้วยความเร็ว 100 MB/s ACT (Activity) ถ้ากระพริบแสดงว่ามีการส่งข้อมูลเข้า-ออกการ์ด (เนื่องมาจากกิจกรรมการใช้เครือข่ายต่างๆ เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต, การแชร์ไฟล์ ฯลฯ ถ้ามีการส่งข้อมูลจำนวนมากจะเปลี่ยนจากกระพริบมาเป็นสว่างค้างตลอดเวลา

39 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Modem ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายผ่านทางสายโทรศัพท์ Bandwidth 56 Kbps Internal Modem External Modem

40 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Access Point ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless) Bandwidth 11/54 Mbps

41 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wireless Card ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย Bandwidth 11/54 Mbps PCMCIA USB PCI for PC

42 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) ใช้ในการเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และ Ethernet Switch หรือ Hub Bandwidth 10/100/1000 Mbps ความเร็วในการเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับการเข้าหัวสาย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ ระยะทางในการเชื่อมต่อ < 100m

43 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สาย UTP และหัว RJ-45 สาย UTP ที่ใช้ใน Ethernet Lan จะเข้าหัวแบบ RJ-45 ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงย่อยอีก 8 เส้น โดยถูกจัดกลุ่มเป็นคู่ๆ ทั้งหมด 4 คู่ RJ-45 UTP

44 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การเข้าหัว RJ-45 มีได้ 2 แบบ คือ แบบ A (Standard 568A) มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/เขียว เขียว ขาว/ส้ม น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน ส้ม ขาว/น้ำตาล น้ำตาล

45 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ B (Standard 568B) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/ส้ม ส้ม ขาวเขียว น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน เขียว ขาว/น้ำตาล น้ำตาล

46 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สาย UTP มี 2 แบบ ตามการเข้าหัว RJ-45 ดังนี้ สายตรง (UTP Straight Cable) เป็นสายที่ใช้ทั่วไป และพบมาก โดยใช้ในการเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์เครือข่ายจำพวก Hub และ Switch โดยการเข้าหัวทั้ง 2 ปลายจะเป็นแบบเดียวกัน (A หรือ B ก็ได้) สายครอส (UTP Cross-over Cable) ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องโดยตรง ไม่ผ่านอุปกรณ์ประเภท Hub และ Switch นอกจากนี้ยังใช้เชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Router (ซึ่งถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์อีกรูปแบบหนึ่ง) โดยการเข้าหัวที่ปลายทั้ง 2 จะไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ปลายข้างหนึ่งเข้าหัวแบบ A อีกปลายจะเข้าหัวแบบ B

47 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

48 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

49 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายตรง (UTP Straight Cable)

50 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สายครอส (UTP Cross-over Cable)

51 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิธีการเข้าหัวสาย UTP 1. ปลอกที่หุ้มสายออกประมาณ 2-3 ซม.

52 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. เรียงสายทั้ง 4 คู่ให้ถูกต้องตามรูปแบบที่ต้องการ (A หรือ B) แล้วตัดให้สายทุกเส้นยาวเท่ากัน โดยให้ยาวออกจากที่หุ้มสายประมาณ 1.7 ซม.

53 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. สอดสายที่จัดเรียงเรียบร้อยแล้ว เข้าไปยังหัว RJ-45 โดยใส่เข้าไปให้สุด และแน่นแล้วจึงใช้ที่เข้าหัวสายหนีบ เพื่อดันให้เข้าที่

54 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สาย STP (Shielded Twisted Pair) คล้ายกับสาย UTP แต่มีชนวน และตัวนำหุ้ม จึงป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี นิยมใช้แทนสาย UTP ในที่ๆ มีสัญญาณรบกวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ มีราคาแพงกว่าสาย UTP

55 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สาย Fiber Optic ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่าย Bandwidth 10/100/1000 Mbps ระยะทางในการเชื่อมต่อ500m – 2Km แล้วแต่ชนิดของสาย

56 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการส่งข้อมูลภายในเครือข่าย Duplex หมายความถึง ความสามารถรับและส่งข้อมูลด้วยอุปกรณ์ชิ้นเดียวกัน ซึ่งแบ่งย่อยออกเป็น 2 ประเภท คือ Half Duplex จะรับและส่งข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถทำพร้อมกันได้ กล่าวคือ ถ้าฝ่ายหนึ่งส่งข้อมูล อีกฝ่ายหนึ่งจะต้องเป็นฝ่ายรับ ไม่สามารถส่งได้จนกว่าอีกฝ่ายจะเลิกส่งข้อมูล และเปลี่ยนมาเป็นฝ่ายรับ เหมือนการใช้วิทยุสื่อสาร ได้แก่ Ethernet ประเภท 10BaseT (10Mbps) เป็นต้น Full Duplex สามารถรับและส่งข้อมูลไปพร้อมๆ กันได้ เหมือนกันการพูดคุยผ่านโทรศัพท์ ได้แก่ Fast Ethernet (100Mbps) หรือ Gigabit Ethernet (1000Mbps) เป็นต้น

57 สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย
สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง

58 การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ BUS Topology
Computer Server Workstation Workstation Workstation Workstation

59 การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Star Topology
Workstation Workstation Workstation Hub Workstation Computer Server Workstation Workstation

60 การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Ring Topology
Client หรือWorkstation ClientหรือWorkstation Computer Server Ring สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง

61 การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เครือข่ายแบบ Tree Topology
Server Hub Hub Hub Hub Workstation Workstation Workstation สื่อการเรียนการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์)จัดทำโดย..คุณครูพิมพ์นิภา รัตน์ประโลมศูนย์การเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนหอวัง


ดาวน์โหลด ppt ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google