กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
ป.3 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน100,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
ผลิตสินค้าและบริการ.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องและตั้งใจทำตามกำลังความสามารถของตนเอง ภายในเวลาที่กำหนดให้
แบบฝึกทักษะ เรื่อง กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
การปลูกพืชผักสวนครัว
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
วิธีสอนแบบอุปนัย.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 ด้านความรู้ 1.1 นักเรียนสามารถสรุปกฎเกณฑ์เบื้องต้นการนับได้ 1.2 นักเรียนสามารถนำกฎเกณฑ์การนับไปใช้ได้ 2 ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 นักเรียนคิดสรุปและแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน มีระบบ มีเหตุผล 2.2 นักเรียนสามารถสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจกระบวนการคิด 2.3 นักเรียนคิดแก้ปัญหาโจทย์อย่างหลากหลาย สำเร็จลุล่วง 3 ด้านคุณลักษณะ 3.1 นักเรียนขยัน สนใจ อดทนในการแก้ปัญหา 3.2 นักเรียนมีความสามัคคี รู้จักทำงานร่วมกัน 3.3 นักเรียนมีความซื่อสัตย์ในการทำงาน

สาระการเรียนรู้ ในชีวิตประจำวันจะพบปัญหาในเรื่องการนับจำนวนวิธีการเกิดกิจกรรมบางอย่างเช่น อยากทราบจำนวนครั้งของการแข่งขันฟุตบอลเมื่อทราบจำนวนทีมที่เข้าแข่งขัน วิธีการจัดชุดเสื้อผ้า วิธีการจัดชุดอาหาร ฯลฯ คำตอบจำนวนวิธีของกิจกรรมเหล่านี้จะบอกได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว ต้องใช้หลักของ “กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ” กฎข้อที่ 1 กิจกรมหนึ่งมีการกระทำ 2 ขั้นตอนที่เป็นอิสระกัน ขั้นที่ 1 มีวิธีการเกิด n1 วิธี ขั้นที่ 2 มีวิธีการเกิด n2 วิธี จะมีวิธีที่แตกต่างกันของการเกิดกิจกรรมนั้นเท่ากับ n1 n2 วิธี กฎข้อที่ 2 กิจกรมหนึ่งมีการกระทำ k ขั้นตอนที่เป็นอิสระกัน ขั้นที่ 1 มีวิธีการเกิด n1 วิธี ขั้นที่ 2 มีวิธีการเกิด n2 วิธี ............ขั้นที่ k มีวิธีการเกิด nk วิธี จะมีวิธีที่แตกต่างกันของการเกิดกิจกรรมนั้นเท่ากับ n1 n2 ....... nk วิธี

ตัวอย่าง ตัวอย่างที่ 1 มีเลข 5 , 7 นำมาเขียนเรียงกันได้ดังนี้ 57 75 ตัวอย่างที่ 1 มีเลข 5 , 7 นำมาเขียนเรียงกันได้ดังนี้ 57 75 ได้ต่างกัน 2 แบบ หรือ 2 วิธี แนวการคิด มีเลขสองตัว นำมาเขียนเรียงกันเป็นเลขสองหลัก _ _ ขั้นที่ 1 เลือกเลขมาใส่หลักหน่วย ได้ 2 วิธี หลักสิบ หลักหน่วย (มีเลขให้เลือก 2 ตัว คือ 5 หรือ 7) ขั้นที่ 2 เลือกเลขมาใส่หลักสิบ ได้ 1 วิธี (หลังจากใส่เลขในหลักหน่วยแล้ว เหลือเลขเพียง 1 ตัว) ดังนั้น จะมีวิธีการเรียงเลขได้ต่างกัน เท่ากับ 2 ? 1 = 2 วิธี

ตัวอย่าง มีเลข 3 , 5 , 2 นำมาเขียนเรียงกันได้ดังนี้ 352 523 235 325 532 253 ได้แตกต่างกัน 6 วิธี แนวการคิด มีเลขสามตัว นำมาเขียนเรียงกันเป็นเลขสามหลัก _ _ _ หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย ขั้นที่ 1 เลือกเลขมาใส่หลักหน่วยได้ 3 วิธี (มีเลขให้เลือก 3 ตัว คือ 3 หรือ 5 หรือ 2) ขั้นที่ 2 เลือกเลขมาใส่หลักสิบได้ 2 วิธี (หลังจากใส่เลขในหลักหน่วย เหลือเลข 2 ตัว) ขั้นที่ 3 เลือกเลขมาใส่หลักร้อยได้ 1 วิธี (หลังจากใส่เลขในหลักสิบ เหลือเลข 1 ตัว) ดังนั้นจะมีวิธีการเรียงเลขได้แตกต่างกันทั้งหมดเท่ากับ 3 ? 2 ? 1 = 6 วิธี

แผนภาพต้นไม้(Tree diagram) เราสามารถใช้แผนภาพต้นไม้แสดงการหาจำนวนวิธีที่แตกต่างกัน จากตัวอย่างที่ 2 หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย เรียงได้จำนวน 2 352 5 3 2 5 325 3 523 2 532

หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย เรียงได้จำนวน หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย เรียงได้จำนวน 5 235 3 2 5 3 253 จากแผนภาพต้นไม้ จะได้รูปแบบการเรียงของตัวเลขสามตัวแตกต่างกัน 6 วิธี หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2 จากแนวการคิด ถ้าขั้นที่ 1 นำเลขไปใส่หลักอื่นที่ไม่ใช่หลักหน่วยก่อน หรือขั้นที่ 2 นำเลขไปใส่หลักร้อยก่อนหลักสิบ จะได้คำตอบเหมือนกันหรือไม่?