ลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สำคัญในยุคก่อนโมเดิร์น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Advertisements

แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
การประกาศ พระราชกฤษฎีกา แห่งมิลาน พ.ศ 856 โดย ครูขณิฐภรณ์ พรหมปลูก
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การบรรยายหัวข้อ เทคนิคการควบคุมงานก่อสร้าง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
กิจกรรมนันทนาการ.
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
ระบบความเชื่อ.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
สมัยโชมอน.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
(Individual and Organizational)
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
องค์ประกอบของบทละคร.
ดวงจันทร์ (Moon).
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ศาสนาคริสต์.
ดาวศุกร์ (Venus).
ทฤษฎีเศรษฐกิจหลายแนวทาง
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
ร้อนรน – รับใช้ พระเยซูฟื้นจากตายและยัง ทรงพระชนม์อยู่ มัทธิว 28 :
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 กุมภาพันธ์เป็นเดือนที่อบอวลไปด้วยความสุขการแสดง ถึงความรัก ความห่วงใยถึงคนที่ เราปรารถนาดีและ อยากให้เขามีความสุข และเป็นที่รับรู้กันทั่วโลกว่าวันที่
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
การเดินทางทางความคิดของมนุษย์ ที่มีต่อสถาปัตยกรรมตะวันตก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สำคัญในยุคก่อนโมเดิร์น Pre-Modern Architecture 801321 History, Theory & Philosophy of Architecture สัปดาห์ที่ 1/ ครั้งที่ 2 9 มิ.ย. 54

Prehistoric Era Early Civilization 2. Mesopotamia 3. Egypt 4. Greek 5. Roman 6. Early Christian Period Medieval Period 7. Romanesque 8. Gothic 9. Renaissance 10. Baroque/ Rococo “ถ้าให้เลือกได้จะเลือกที่จะกลับไปใช้ชีวิตในยุคสมัยใด เพราะอะไร จาก 10 ยุคที่ระบุให้”

1 Prehistoric Era Natural Man (10,000 B.C.) เป็นยุคที่ศึกษาเรียนรู้จากธรรมชาติ อยู่บนฐานของความเชื่อ ความกลัว ความไม่รู้ ยังไม่มีการสร้างสถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่จะอยู่ถ้ำ รู้จักถ่ายทอดประสบการณ์จริงเป็นผลงานทางศิลปะบนผนังถ้ำ มนุษย์เป็นเพียงนักปฏิรูปธรรมชาติ และสร้างศิลปกรรมขึ้นมาจากความเป็นจริงอันบริสุทธิ์

1 Prehistoric Era

2 Early Civilization Mesopotamia (3000 B.C – 626 B.C)

2 Early Civilization Mesopotamia (3000 B.C – 626 B.C) นิยมสร้างสถาปัตยกรรมให้สูงคล้ายภูเขา เพื่อใกล้ชิดกับสวรรค์ พระเสมือนเป็นนักดาราศาสตร์ที่จะดูดาวหรือสนทนากับพระเจ้าบนสวรรค์ สถาปัตยกรรมก่อสร้างด้วย “อิฐ” เกิดระบบ Arch & Vault

2 Early Civilization Egypt (3000 B.C. - 525 B.C.) มนุษย์ประกอบด้วยร่างกายและวิญญาณ เมื่อตายไปแล้ววิญญาณจะไม่ดับสูญ จวบจนกระทั่งวันสิ้นโลก ซึ่งวิญญาณและร่างกายจะกลับมาเกิดใหม่

2 Early Civilization - Egypt (3000 B.C. - 33 B.C.)

2 Early Civilization - Egypt (3000 B.C. - 33 B.C.) Pylons, temple of Horus

3 Early Civilization Greek (1100 B.C. - 100 B.C.)

3 Early Civilization - Greek (1100 B.C. - 100 B.C.) ยึดมั่นในเหตุผล และความสมบูรณ์ของมนุษย์ มีอิสรเสรีทางความคิดวิพากษ์วิจารณ์ สถาปัตยกรรมจะเข้าถึงชุมชน โครงสร้างเสา – คาน โปร่งกว่าอียิปต์ วิหารมีสัดส่วนงดงาม เกิดสนามกีฬา ลานแสดงละคร ดนตรีกลางแจ้ง

3 Early Civilization - Greek (1100 B.C. - 100 B.C.) กรีก : ผู้หยั่งรู้ภายนอกด้วยเหตุและผล

3 Early Civilization - Greek (1100 B.C. - 100 B.C.) “Man is the Measure of All Things” , Protagoras 481 – 411 BC.

3 Early Civilization - Roman (200 B.C. - 3rd C.)

โรมัน : อำนาจคู่กันกับสุนทรียภาพ โรมัน : อำนาจคู่กันกับสุนทรียภาพ มีทักษะทางวิศวกรรมที่เยี่ยมยอด เป็นยุคแห่งอำนาจทางการทหาร นักรบ เชื่อในชัยชนะความกล้าหาญในชีวิตปัจจุบัน สถาปัตยกรรมยิ่งใหญ่ มโหฬาร ซับซ้อน นิยมสร้างประตูชัย เป็นชาติแรกที่ใช้คอนกรีตอย่างกว้างขวาง นำเอาโครงสร้าง เสา – คาน รวมกับระบบโค้งต่างๆได้แก่ วงโค้ง (อาร์ค), ทรงโค้ง (โวลต์), ทรงกลม (โดม) เกิดบาสซิลิกา (ศาล) โคลอสเซียมหรือสนามต่อสู้ระหว่างคนกับสัตว์ป่า

3 Early Civilization - Roman (200 B.C. - 3rd C.)

3 Early Civilization - Roman (200 B.C. - 3rd C.)

3 Early Christian Period (5th century) : พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง คริสเตียนตอนต้น รับมรดกทางเทคนิคและรูปทรงมาจากอาคารโรมัน แต่มีจุดหมายเปลี่ยนไป เน้นที่โบสถ์ เข้าสู่ประสบการณ์ลึกลับทางศาสนา ผนังภายนอกจะถูกปล่อยเรียบๆ ทื่อๆ และภายในประดับประดาตกแต่งหรือเป็นการเน้นที่ว่างภายในเป็นหลัก เพื่อให้เกิดที่ว่างภายในอันศักดิ์สิทธ์ของพระเจ้า ยึดศูนย์กลางและแนวแกนตามยาวเป็นหลัก Early Christian Period (5th century) : พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง

3 Early Christian Period (5th century) : พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง ไบเเซนไทน์ อยู่ยุโรปตะวันออก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเบิล โบสถ์จะเน้นแกนตามตั้งเป็นพิเศษ เกิดหลังคาโดม (โบสถ์ Hagia Sophia) ภายในแสดงออกถึงความสลายตัวบางเบา : พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง

3 Early Christian Period (5th century) : พระเจ้าสร้างทุกสิ่ง

4 Medieval Period - Romanesque (5th C. - 15th C.) : การตกแต่งเพื่อศาสนาและความโอ่อ่าของกษัตริย์ มีความก้าวหน้าในเทคนิคการก่ออิฐ ทำหลังคาทรงโค้งอย่างโรมัน สถาปัตยกรรมมีลักษณะกำยำ หนักแน่นคล้ายป้อมโบราณ มีโครงสร้างวงโค้งอย่างโรมัน มีหอสูงสองหอหรือมากกว่า เพื่อป้องกันศตรูและสะท้อนการขึ้นสู่สรวงสวรรค์เข้าถึงพระเจ้า มีหลังคาโค้งตัน มีช่องเปิดที่ลดหลั่นถูกดันเข้าไปในผนัง ช่องเปิดมีขนาดใหญ่ขึ้น สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมมากขึ้น วัดใกล้ชิดสังคมมากขึ้น เริ่มมีการนำแสงธรรมชาติที่เปรียบเหมือนแสงแห่งพระจิตเข้าสู่ตัวโบสถ์

4 Medieval Period - Gothic (12th C.-15th C.) Cathedral Amiens มีศรัทธาอย่างลึกซึ้งในศาสนา สร้างมหาวิหารยิ่งใหญ่สูงเสียดฟ้า ใช้หินก้อนเล็กๆมาเรียงต่อกัน เกิดระบบโค้งแหลม (Pointed Arch) ทำให้สถาปัตยกรรมดูบางเบาผนังไม่ต้องรับน้ำหนัก นำแสงแห่งพระเจ้าเข้ามาใกล้ชิดกับมนุษย์ เป็นสถาปัตยกรรมที่มีสัจจะ ไม่ปิดบังซ่อนเร้น ถือว่าเป็นการแสดงถึง “ที่ว่างอันศักดิ์สิทธิ์” ได้อย่างสมบูรณ์ในยุคนั้น Medieval Period - Gothic (12th C.-15th C.) Cathedral Amiens

4 Medieval Period - Gothic (12th C.-15th C.) : ความแหลมของหลังคา คือความสง่าของพระเจ้า

4 Medieval Period - Gothic (12th C.-15th C.)

4 Medieval Period - Gothic (12th C.-15th C.)

5 Renaissance (1400 - 1500 AD) : มนุษย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการเกิดใหม่ เป็นยุคที่มนุษย์ตระหนักถึงตัวตนของตนเอง มนุษย์เป็นผู้ควบคุมธรรมชาติ ยึดมั่นในเหตุผล เชื่อว่าคุณค่าของมนุษย์อยู่ที่ความคิด ความรู้ และความสามารถ เป็นยุคแห่งการปฏิวัติความคิดครั้งยิ่งใหญ่ ทั้งทางปรัชญาและวิทยาศาสตร์ มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้กับสถาปัตยกรรม เป็นยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ เกิดระบบการพิมพ์ ดินปืน เข็มทิศ ฯลฯ หันกลับไปหาคลาสสิคหรือ กรีก โรมัน เพื่อเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม เกิดโดมแหลม สถาปัตยกรรมมีเหตุผล อาคารมีสัดส่วนเรียบง่าย เน้นแกนสมดุลรูปผังสมมาตรคล้ายโรมัน : มนุษย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล

5 Renaissance (1400 - 1500 AD) : มนุษย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล

5 Renaissance (1400 - 1500 AD) : ทบทวนใหม่ด้วยจุดยืนที่แสวงหา

5 Renaissance (1400 - 1500 AD)

5 Renaissance (1400 - 1500 AD)

6 Baroque (1600-1750 AD) : สืบทอดเจตนารมณ์แมนเนอริสม์ : สืบทอดเจตนารมณ์แมนเนอริสม์ เป็นแบบอย่างที่ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ เป็นเรื่องของความนึกคิดเฉพาะบุคคล เป็นสมัยที่มีการขัดแย้งกันทางมโนคติอย่างรุนแรง เอาของเก่ามาแปลงใหม่แบบไร้กฎเกณฑ์ เป็นการจัดองค์ประกอบภาพและที่ว่างอย่างไม่ประสานกลมกลืนกันอย่างจงใจ (Mannerism) ก่อเกิดความกำกวมคลุมเครือ (Ambiguity) ความขัดแย้ง (Conflict) การแข่งขัน (Duality) รวมทั้งความจอมปลอม (Artificiality)

Villa Rotonda, Palladio

6 Baroque (1600-1750 AD)

6 Baroque (1600-1750 AD)

6 Baroque (1600-1750 AD)

7 Rococo (1720-1770 AD) บาโรคช่วงสุดท้ายยุคหลังจะเป็นแบบ Rococo เน้นการประดับประดาตกแต่งภายใน รูปทรงโปร่งเบา ผอมสูง ประดับประดาลวดลายต่างๆโดยใช้รูปทรงจากธรรมชาติ เช่น เปลือกหอย กิ่งไม้ ก้อนหิน ฯลฯ

7 Rococo (1720-1770 AD) : ความงามคือการตกแต่ง

Dark Age 2 1400 1500 1600 Holiocentric Geocentric Gothic 1100-1400 Renaissance 1400-1500 2 1400 1500 1600 Nicolaus Copernicus 1473-1543 Holiocentric Galileo Galilei 1564-1642 คิดกล้องโทรทัศน์ Geocentric Sukhothai 1238-1349 Ayutthayai 1350-1767

Enlightenment 1650-1770 (reason = god) Rene Descartes 1596-1650 “I think therefor I am” Immanuel Kant 1724-1804 จิตวิญญาณนิยม (Spiritualism) Enlightenment 1650-1770 (reason = god) Baroque-Rococo 1600-1770 Neoclassic & Romantic 1750-1850 ปฏิวัติการปกครองใน USA 1600 1700 1800 1850 คิดค้นระบบการพิมพ์ 1720 1769 1789 1825 Isacc Newton 1642-1727 สร้างกฏแรงโน้มถ่วงอธิบายกฏธรรมชาติทั้งมวล ปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษ Jame Watt คิดเครื่องจักรไอน้ำ ปฏิวัติในฝรั่งเศส เกิดรถไฟในอังกฤษ Ayutthayai 1350-1760 Rattanakosin 1780-1851 RAMA 1 - 3

สถาปัตยกรรม ฯลฯ สังคม ความรู้ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ความเชื่อ ปรัชญา ศาสนา

เอกสารอ้างอิง Fleming, John and Honour Huge . “A World History of Art”. Fifth Edition. China, 1999. Seton Lloyd, David Talbot Rice, Norbert Lynton Andrew Boyd, Andrew Carden, Philip Rawson and John Jacobus. WORLD ARCHITECTURE. The Hamlyn Publishing Group Limited, Fifth Impression, 1971. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2533. อัศนีย์ ชูอรุณ. ประวัติศาสตร์ศิลปะยุคโบราณและยุคกลาง. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2536. อัศนีย์ ชูอรุณ. ประวัติศาสตร์ศิลปะยุคฟื้นฟูและยุคใหม่. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2537. อัศนีย์ ชูอรุณ และเฉลิมศรี ชูอรุณ. แบบอย่างศิลปะตะวันตก. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ, 2528.