การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ประเภทโครงการ Cross Function โดยกลุ่ม Idea Green 18 ตุลาคม 2554
รายชื่อหน่วยงานที่ร่วมโครงการ สำนักบริหารแผนและการคลัง สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ศูนย์การจัดการทรัพยากรมหาวิทยาลัย รายชื่อหน่วยงานที่ร่วมโครงการ
เนื่องจากฝ่ายการคลังมีหน้าที่นำส่งภาษีเงินได้แก่สรรพากรทุกเดือน ภายใน วันที่ 7 ของเดือนถัดไป จะมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายการคลังนำภาษีเงินได้เป็นเงินเดือน พนักงานมหาวิทยาลัย ปริมาณกระดาษกว่า 2 รีม ข้อมูลบุคลากรประมาณ 8,000 ราย/เดือน และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายหน้าเคาท์เตอร์ ฝ่ายการคลัง จะมีเจ้าหน้าที่เดินทางเพื่อไปยื่นแบบฯ และชำระเงินที่กรมสรรพากร เมื่อไป ถึงกรมสรรพากร เจ้าหน้าที่กรมสรรพากรต้องเสียเวลาในการคีย์ข้อมูลเข้าสู่ ระบบใหม่ เนื่องจากข้อมูลที่ส่งเป็นแบบกระดาษไม่ตรงกับความต้องการของ ผู้รับบริการ ทำให้เกิดความยุ่งยากและซับซ้อน และอาจเกิดข้อผิดพลาดในการ คีย์ข้อมูลใหม่ได้ จึงเป็นที่มาของโครงการยื่นแบบฯ และชำระภาษีทาง อินเทอร์เน็ต ที่มา / มูลเหตุจูงใจ
เป้าหมายและตัวชี้วัด ลดรอบระยะเวลาการพิมพ์รายงานภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบกระดาษเพื่อ แนบแบบ ภ.ง.ด. และนำส่งกรมสรรพากรจากเดิม 2 ชั่วโมง เป็น 1 ชั่วโมง เพิ่มความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการทั้งส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน ภายนอก เป้าหมายและตัวชี้วัด
แผนภาพ VSM (ก่อนทำ lean)
สรุปผลของการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ขั้นตอน / ระยะเวลาในการปฏิบัติงานมาก ทำใบขออนุมัติจ่ายเพื่อเสนอผู้บริหารอนุมัติ 31 ฉบับ/เดือน ทำเช็คเพื่อเสนอผู้บริหารอนุมัติเพื่อชำระเงิน ติดต่อขอรถยนต์เพื่อเดินทางไปยื่นแบบฯ และชำระเงิน เนื่องจากปริมาณเอกสารมีมากทำให้ยุ่งยากต่อการจัดเก็บและค้นหา สิ้นเปลืองทรัพยากร ใช้กระดาษ A4 ประมาณ 2 รีม /เดือนสำหรับภาษีเงินเดือนบุคลากร ใช้กระดาษ A4 ประมาณ 80 แผ่น / เดือนสำหรับภาษีหน้าเคาท์เตอร์ ต้องส่งเจ้าหน้าที่ไปยื่นแบบและชำระเงินที่กรมสรรพกร ข้อมูลภาษีไม่สมบูรณ์ในระบบ HR , CU-ERP สรุปผลของการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ปัญหาและอุปสรรค ข้อมูลภาษีของบุคลากรไม่สมบูรณ์บางส่วน ขั้นตอนการยื่นภาษีบางครั้งมีปัญหาไม่สามารถส่งข้อมูลได้ทันที เนื่องจาก ข้อมูลไม่สมบูรณ์ ปัญหาและอุปสรรค
ผลลัพธ์ของการดำเนินโครงการ ลดขั้นตอนการทำงาน ลดการทำใบขออนุมัติจ่ายเพื่อเสนอผู้บริหารอนุมัติ เดิม 31 ฉบับ/เดือน เป็น 8 ฉบับ/เดือน ลดขั้นตอนการทำเช็ค เปลี่ยนเป็นวิธีการโอนผ่านธนาคาร ลดขั้นตอนการติดต่อขอรถยนต์เพื่อเดินทางไปยื่นแบบฯ และชำระเงิน ลดปริมาณกระดาษ ภาษีเงินเดือน กระดาษ A4 จากเดิม 2 รีม ปัจจุบันไม่ใช้ ภาษีหน้าเคาท์เตอร์ กระดาษ A4 จากเดิม 80 แผ่น ปัจจุบันไม่ใช้ ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ไม่ต้องส่งเจ้าหน้าที่ไปยื่นแบบและชำระเงินที่กรมสรรพกร ผลลัพธ์ของการดำเนินโครงการ
แผนภาพ VSM (หลังทำ lean)
สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ ปรับปรุงข้อมูลการยื่นแบบภาษีแบบใหม่เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ลดขั้นตอนการทำงาน สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ