งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ หัวข้อปัญหา การจัดการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน preventive maintenance ชื่อโครงการ การให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอร์รี่” กลุ่มช่างไฟฟ้า
ประเภทโครงการ ต่อยอดโครงการเดิม โครงการเดิม
หลักการและเหตุผล (มูลเหตุจูงใจ) ปัจจุบัน ปัจจุบันการให้บริการเชิงรุก “ซ่อมบำรุงเดลิเวอรรี่” ได้ ดำเนินการมาระยะหนึ่ง ซึ่งทำให้มองเห็นว่าโครงการที่ทำอยู่ใน ปัจจุบันนี้ กำลังดำเนินงานไปได้ด้วยดี มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มีผล การตอบรับดี จึงได้ริเริ่มที่จะจัดทำ preventive maintenance ขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อได้มีการตรวจสอบวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ประจำ สำนักงาน ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ เพื่อให้ได้มีการตรวจสอบสภาพอายุงาน ของวัสดุ อุปกรณ์ ใน สำนักงาน เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะ ของช่างผู้ปฏิบัติงาน ให้มีความชำนาญ มากขึ้น
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ อัตราการทำ preventive maintenance ของระบบไฟฟ้า ให้เป็นไปตามแผนการที่กำหนด อัตราการซ่อมของงานช่างไฟฟ้า อัตรา ความพึ่งพอใจของผู้รับบริการและหน่วยงาน
แผนหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ขอบเขตของโครงการ 8 เดือน ระยะเวลาดำเนินการ ระยะเวลาเริ่มต้นวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2554 รวม 8 เดือน
ผู้รับผิดชอบโครงการ ลำดับ ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง หน่วยงาน 1 นายอนุรักษ์ แก้วมีแสง ที่ปรึกษากลุ่ม ซ่อมบำรุง 2 นายเชาวลิต คำสุข ประธานกลุ่ม 3 นายเจนศักดิ์ เจริญศิลป์ เลขานุการ 4 นายจำลอง ฟักสุข สมาชิก 5 นายวิสิทธิศักดิ์ พุ่มเฉลา 6 นายชัยกร พระยาน้อย 7 นายพิษณุ ประไพตระกูล 8 นายสมชาย จันทร์งาม 9 นายกิตติ สอนศรี 10 นายจเด็จ เนียมสำราญ 11 นายสัตยา บุญอินทร์
การประเมินผลโครงการ มีการประเมินผลทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้ได้ข้อมูล นำมาประกอบ กับการวิเคราะห์ หามูลเหตุในการตัดสินใจในการจัดการขั้น ต่อไป
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ลดการชำรุดสูญเสีย การเกิดอุบัติภัยและอุบัติเหตุเบื้องต้น ลดค่าใช้จ่ายบางประการที่อาจก่อให้เกิดการเสียหายในอนาคต เพิ่มความรู้และทักษะในการปฏิบัติ ให้มีความชำนาญในงานที่ ต้องรับผิดชอบมากขึ้น
สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ โครงการได้สรุปหาสาเหตุและได้ทำการปรับปรุง กับปัญหาที่ เกิดขึ้นอย่างละเอียดรอบครอบและมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ มาตรฐาน ทางวิศวกรรม และได้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญมาช่วยใน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้เกิดการผิดพลาดที่น้อยที่สุด
สรุปการขยายผลหรือการปรับปรุงที่เพิ่มเติมจากโครงการปีที่แล้ว จากโครงการที่ผ่านมาของปีที่แล้วเราได้ให้บริการงานซ่อมแบบเชิงรุกโดยทำ เป็นทีม และทางโครงการได้ขยายผลต่อยอดให้เพิ่มจากเดิมโดยการจัดการทำ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (preventive maintenance) ของระบบประกอบอาคาร ของอาคารจามจุรี1 ถึง อาคารจามจุรี 5 และจะต่อยอด ไปยังอาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยต่อไป
ความถี่ในการตรวจบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าของอาคาร ลำดับ รายการตรวจสอบบำรุงรักษา 2สัปดาห์ 1เดือน 3เดือน 6เดือน 1ปี หมายเหตุ 1 ระบบไฟฟ้าแรงสูง √ 1.1 สายอากาศ 1.2 สายใต้ดิน 2 หม้อแปลงไฟฟ้า 3 ระบบไฟฟ้าแรงต่ำ 3.1 แรงต่ำภายนอกอาคาร 3.2 แผงสวิตซ์นอกอาคาร 3.3 แรงต่ำภายในอาคาร 3.4 แผงสวิตซ์เมน 3.5 สายป้อน 3.6 แผงสวิตซ์ย่อย 3.7 วงจรย่อยและอุปกรณ์ไฟฟ้า 3.8 สายป้อนสำหรับระบบประกอบอาคาร 4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 5 ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
รูปการปฏิบัติงาน กลุ่มช่างไฟฟ้า
จบการนำเสนอ ถาม-ตอบ = ?