กระบวนการจัดส่งรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมินการควบคุม กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามประเมินผล
ชื่อเต็มของแบบรายงาน ปอ.๑ หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน ปอ.๒ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ปอ.๓ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปย.๑ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ปย.๒ รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบ
กำหนดการส่งเอกสาร แบ่งออกเป็น ๒ รอบ รอบ ๖ เดือน(ต.ค. ถึง มี.ค.) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน รอบ ๑๒ เดือน(ต.ค.ถึง ก.ย.ปีถัดไป) แผนบริหารความเสี่ยง ปย.๑ ปย.๒
เดือนตุลาคมของทุกปี(รอบ ๑๒ เดือน) กำหนดการส่งเอกสาร เดือนตุลาคมของทุกปี(รอบ ๑๒ เดือน) คณะ/ศูนย์/สำนัก/สถาบัน จะต้องส่ง แผนบริหารความเสี่ยง ปย.๑ ปย.๒ ส่งถึงอธิการบดีส่งอย่างช้าภายใน ๑๕ ตุลาคม
เดือนมีนาคมของทุกปี(รอบ ๖ เดือน) กำหนดการส่งเอกสาร เดือนมีนาคมของทุกปี(รอบ ๖ เดือน) คณะ/ศูนย์/สำนัก/สถาบัน จัดทำรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน(รอบ ๖ เดือน ต.ค.ถึง มี.ค.ปีถัดไป) ส่งอธิการบดี ภายในมีนาคม มหาวิทยาลัยส่งต่อกระทรวง ๑๐ เม.ย.
กำหนดการจัดทำเอกสาร เดือนสิงหาคมของทุกปี คณะ/ศูนย์/สำนัก/สถาบัน จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง
เดือนกันยายนของทุกปี กำหนดการจัดทำเอกสาร เดือนกันยายนของทุกปี คณะ/ศูนย์/สำนัก/สถาบัน จัดทำรายงานตามแบบ ปย.๑ จัดทำรายงานตามแบบ ปย.๒ รอบ ๑๒ เดือน(ต.ค.ปีที่แล้ว-ก.ย.ปีปัจจุบัน)
เอกสารเกี่ยวกับการควบคุมภายใน มีความสำคัญและจำเป็น เนื่องจากมหาวิทยาลัยจะต้องรายงาน สตง. กระทรวงศึกษาธิการ คตป.ประจำกระทรวงศึกษาธิการ กรมบัญชีกลาง
สิ่งที่หน่วยรับตรวจจะต้องมี(คณะ ศูนย์ สำนัก สถาบัน) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ปย.๑ ปย.๒ รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน(รอบ ๖ เดือน ต.ค.ถึง มี.ค.) แผนบริหารความเสี่ยง หมายเหตุ เพื่อรองรับการตรวจจากหน่วยตรวจสอบภายใน