ประวัตินักคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรขาคณิตสามมิติ และปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
Advertisements

แฟนพันธุ์แท้เรขาคณิต
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
ประวัติ-ผลงาน ของนักคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ลิมิตและความต่อเนื่อง
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
พื้นที่ผิวและปริมาตร
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ความเท่ากันทุกประการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
Wang991.wordpress.com Tregonmetry Click when ready 
การนับเบื้องต้น Basic counting
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
นักคณิตศาสตร์ในอดีต.
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
ประวัติ นักคณิตศาสตร์
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
1 สารบั ญ ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ. ศ ว่าเป็นเมือง ประเทศราชในจำนวน.
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โปรแกรมการคำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
พื้นที่และปริมาตร พีระมิด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
แบบรูปและความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
พีระมิด.
ผังงาน (FLOW CHART) ตัวอย่างผังงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
พื้นที่ผิว และปริมาตร
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ปีทาโกรัส Pythagoras.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัตินักคณิตศาสตร์ ปิทาโกรัส Pythagoras จัดทำโดย นางสาวสุรีวัฒน์ คชนิล ม.4/1 เลขที่ 24

ประวัติของปิทาโกรัส พีทาโกรัสเกิดบนเกาะซามอส (Samos) นอกชายฝั่งเอเซียมิเนอร์ (ปัจจุบันคือประเทศตุรกี) และเป็นบุตรชายของพีทาอิส และ เนซาร์คัส เกิด 582 ก่อนคริสต์ศักราช เสียชีวิต 507 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองเมตาปอนตัม (Metapontum)

ปีทาโกรัสเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ ทฤษฎีของ เขาได้นำมาพิสูจน์และพบว่าถูกต้องน่าเชื่อถือและใช้กัน มาจนถึงปัจจุบันนี้ เนื่องจากปีทาโกรัสเป็นนักปราชญ์ที่ เกิดก่อนคริสต์ศักราชถึง 500 ปี ดังนั้นประวัติชีวิตส่วนตัวของเขาจึงไม่มีการบันทึกไว้ มากนัก เท่าที่มีการบันทึกไว้พบว่า

เขาเป็นคนฉลาดหลักแหลม มีความสามารถ และเป็นที่นับถือของชาวเมืองมาก เมื่อปีทาโกรัสอายุได้ 16 เขาได้เดินทางไปศึกษาวิชาความรู้กับเทลีส (Thales) นักปราชญ์เอก คนแรกของโลก เทลีสเป็นผู้ที่มีความรู้กว้างขวางในหลายสาขาวิชา และได้ถ่ายทอดความรู้เหล่านั้นให้กับปีทาโกรัสจนหมดสิ้น แต่ปีทาโกรัสก็ยังต้องการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอีก

ดังนั้นในปี 529 ก่อนคริสต์ศักราช ปีทาโกรัสจึงออกเดินทางไปตามเมืองต่าง ๆ เช่น อาระเบีย เปอร์เซีย อินเดีย และอียิปต์ ตามลำดับ เขาได้กลับจากการเดินทางและกลับไปที่เกาะซามอส และพบว่าเกาะซามอสได้อยู่ในความปกครองของโพลีเครตีส (Polycrates) และอีกส่วนหนึ่งได้ตกเป็นของเปอร์เซีย เมื่อปีทาโกรัสเห็นเช่นนั้น จึงเดินทางออกจากเกาะซามอสไปอยู่ที่เมืองโครตอน (Croton) ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี

และที่เมืองโครตอนนี้เองปีทาโกรัสได้ตั้งโรงเรียนขึ้น โรงเรียนของปีทาโกรัสจะสอนเน้นหนักไปในเรื่องของปรัชญาคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ปีทาโกรัสได้กล่าวว่า "คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานของทุกสิ่ง ทุกอย่าง ถ้าไม่มีคณิตศาสตร์แล้ว ทุกอย่างก็จะไม่เกิดขึ้น" นอกจากนี้ปีทาโกรัสยังแบ่งคณิตศาสตร์ออกเป็น 2 สาขา คือ  1. เลขคณิต ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวเลข          2. เรขาคณิต เป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปทรงต่าง ๆ เช่น สี่เหลี่ยม วงกลม สามเหลี่ยม และหกเหลี่ยม เป็นต้น

ซึ่งวิชาเรขาคณิตนี้มีประโยชน์อย่างมากในทางสถาปัตยกรรม และทฤษฎีบทเรขาคณิตที่มีชื่อเสียงที่สุดของปีทาโกรัสก็คือ "ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบ มุมฉาก" หรือที่เรียกกันว่า “ทฤษฎีบทปิทาโกรัส” และวิชาเลขคณิตนี้ เขาก็ได้คิดค้น ตารางปิทาโกเรียน หรือที่เราเรียกว่า สูตรคูณ

โรงเรียนของปีทาโกรัสมีผู้ให้ความสนใจส่งบุตรหลานเข้ามาเรียนจำนวนมาก ทั้งพระมหากษัตริย์ ขุนนางราชสำนักและพ่อค้าคหบดีที่มั่งคั่ง ผู้ที่จบการศึกษาจากโรงเรียนแห่งนี้ได้มีการตั้งชุมนุม โดยใช้ชื่อว่า "ชุมนุมปีทาโกเรียน (Pythagorean)" ผู้ที่จะสมัครเข้าชุมนุมปีทาโกเรียนจะต้องมีความรู้ด้านคณิตศาสตร์เป็นอย่างดี อีกทั้งจะไม่เผยแพร่ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ให้กับผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของชุมนุม

ผลงาน - สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน (Pythagorean Table) - สมบัติของแสง และการมองวัตถุ - สมบัติของเสียง

ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่มีชื่อเสียงที่สุด - ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า "ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก” หรือที่เรียกกันว่า “ทฤษฎีบทปิทาโกรัส”

ทฤษฎีบทปิทาโกรัส 1.ผลรวมของพื้นที่ของสี่เหลี่ยมสองรูปบนด้านประชิดมุมฉาก (a และ b) เท่ากับพื้นที่ของสี่เหลี่ยมบนด้านตรงข้ามมุมฉาก (c) 2.ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก (c) เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก (a และ b)

ตัวอย่างโจทย์ปิทาโกรัส สามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีด้าน AC ยาว 25 หน่วย มีด้าน BC ยาว 7 หน่วย จงหาความยาวของ AB

ขอขอบคุณ ข้อมูลดีๆ จาก... http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/2/scientist/scientist3/Pythagorus.html http://sawangpattaya.org/sawangschool/index.php?topic=1023.0 http://francespaulsen.wordpress.com/2011/12/14/