การประกันคุณภาพภายนอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การประกันคุณภาพการศึกษา
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
PDCA คืออะไร P D C A.
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ความสำคัญและมโนทัศน์พื้นฐานของการวัดและประเมินผลการศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายถึง
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การทัศนศึกษา.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพภายนอก Dr.Tunt Chomchuen

การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก (Quality Assurance) การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก

การประกันคุณภาพภายใน จัดให้มีระบบ การประกันคุณภาพ (มาตรฐาน 48 ) จัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน อย่างต่อเนื่องและเป็นปกติ (มาตรฐาน 48) จัดทำรายงาน ประเมินตนเอง (มาตรฐาน 48-50) จัดให้มีการประเมิน คุณภาพภายใน (มาตรฐาน 48) สถานศึกษา รับการประเมิน คุณภาพภายนอก ทุก 5 ปี (มาตรฐาน 48) หากไม่ได้มาตรฐาน ต้องปรับปรุงแก้ไข (มาตรฐาน 51)

การประกันคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับโดย ผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ.

การประเมินคุณภาพภายนอก เป็นส่วนหนึ่งของระบบการประกันคุณภาพ คุณภาพ การประกันคุณภาพ สิ่งที่ตรงกับความต้องการฯ การรับประกันว่ามีคุณภาพ สิ่งที่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนด การสร้างความมั่นใจในคุณภาพ

การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) QA Quality Control Audit Assessment ภายใน  ภายนอก

SAR : ตัวเชื่อมโยง IQA และ EQA รายงาน การประเมินตนเอง การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา การ ตรวจ เยี่ยม รายงาน ผล การ ประเมิน การติด ตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ

การประเมินคุณภาพภายนอก พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน วัตถุประสงค์สำคัญ การประเมินคุณภาพภายนอก พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน โดยการช่วยสะท้อนจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาแก่สถานศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัด

การประเมินคุณภาพภายนอก ใครรับผิดชอบ การประเมินคุณภาพภายนอก สมศ. : สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ที่จัดตั้งขึ้นโดย พรบ.การศึกษา’42 มาตรา 49

หน้าที่ของ สมศ. ในการประเมินคุณภาพภายนอก หน้าที่ของ สมศ. ในการประเมินคุณภาพภายนอก 1 2 3 4 จัดหา - จัดเตรียม ผู้ประเมินภายนอก พัฒนาผู้ประเมินภายนอก จัดประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ทุก 5 ปี จัดทำข้อสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก เสนอรัฐบาล

ประโยชน์ของการประกันคุณภาพภายนอก 1. เพื่อตรวจสอบ ยืนยันสภาพจริงการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด 2. เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดเด่น-จุดด้อยของสถานศึกษา เงื่อนไขของความสำเร็จ และสาเหตุของปัญหา

  3. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา 4. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง 5. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

ความสำคัญของการประกันคุณภาพภายนอก ประการที่ 1 เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ประการที่ 2 เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษา

ประการที่ 3 สถานศึกษาและหน่วยงานที่กำกับดูแล รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการวางแผนและดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด ประการที่ 4 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลสำคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัด

วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก