การวิเคราะห์และประเมินค่างาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Graduate School Khon Kaen University
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กิจการนิสิต (Student Affairs)
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
รูปแบบการฝึกซ้อม (Types of exercise)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
สป. สธ. ซ้อมความเข้าใจ การจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ สธ 0201
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน PSRU. การวิเคราะห์และประเมินค่างาน รศ.สุรชัย ขวัญเมือง นำเสนอ ม.ราชภัฏเชียงใหม่ 11 ธันวาคม 2550

องค์ประกอบของการวิเคราะห์ หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง ความยุ่งยากของงาน ความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน การควบคุม กำกับ ตรวจสอบหรือบังคับบัญชา ความรู้ที่ต้องการในการปฏิบัติงาน

แบบวิเคราะห์ความจำเป็น การกำหนดระดับตำแหน่ง

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน PSRU. ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของหน่วยงาน ขอบข่ายหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน  ประวัติ ความเป็นมา สถานที่ วัตถุประสงค์ การจัดตั้งหน่วยงาน

รายละเอียดของโครงสร้าง แผนภูมิหน่วยงาน PSRU. ส่วนที่ 1 รายละเอียดของโครงสร้าง แผนภูมิหน่วยงาน 2.1 เหตุผลความจำเป็นในการกำหนดตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 2.2 ประโยชน์ที่หน่วยงานคาดว่าจะได้รับจากการกำหนดตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น

 รายละเอียดอัตรากำลังของหน่วยงาน PSRU. ส่วนที่ 1 รายละเอียดหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน  รายละเอียดอัตรากำลังของหน่วยงาน

ส่วนที่ 2 หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง PSRU. ส่วนที่ 2 หน้าที่และความรับผิดชอบของตำแหน่ง หน้าที่และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีหน้าที่และความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับการปกครองบังคับบัญชาผู้ปฏิบัติงานอื่น มีองค์ประกอบคือ

รายละเอียดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน PSRU. ส่วนที่ 2 รายละเอียดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน 1.1 รายละเอียดลักษณะงาน 1.2 ปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี

PSRU. ส่วนที่ 2 หน่วยงานได้ดำเนินโครงการ หรือมีแผนการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเสริมการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงานอย่างไร เช่น 2.1 ชนิดของอุปกรณ์สำนักงานที่หน่วยงานใช้ในการพัฒนา 2.2 ลักษณะงานที่หน่วยงานพัฒนา เช่น โปรแกรมฯ

จำนวนผู้ใต้บังคับบัญชาและระดับตำแหน่งที่บังคับบัญชา PSRU. ส่วนที่ 2 จำนวนผู้ใต้บังคับบัญชาและระดับตำแหน่งที่บังคับบัญชา  ระดับความรับผิดชอบ  ความยุติธรรม ความซื่อสัตย์และการรักษาความลับของ ทางราชการ  จำนวนเงินงบประมาณ และลักษณะของกิจกรรมการเงิน  รายละเอียดแผนการควบคุมภายในหน่วยงาน

ส่วนที่ 3 ความยุ่งยากของงาน ความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน PSRU. ส่วนที่ 3 ความยุ่งยากของงาน ความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน  ความยากของงานที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติในฐานะผู้บังคับบัญชาและความสามารถที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน มีองค์ประกอบคือ

ความคิดริเริ่มที่ต้องการ และขอบเขตของการตัดสินใจ PSRU. ส่วนที่ 3 ความคิดริเริ่มที่ต้องการ และขอบเขตของการตัดสินใจ * เน้นการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการปฏิบัติงานที่มีความยุ่งยาก ลักษณะและวัตถุประสงค์ของการติดต่อกับผู้อื่นในการปฏิบัติงาน

ส่วนที่ 4 ระดับความสำคัญของการควบคุม บังคับบัญชาและการตรวจสอบงาน PSRU. ส่วนที่ 4 ระดับความสำคัญของการควบคุม บังคับบัญชาและการตรวจสอบงาน  ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ได้แก่

การตรวจสอบงาน  การติดต่อประสานงาน  การวินิจฉัยสั่งการ ส่วนที่ 4 PSRU. ส่วนที่ 4 การตรวจสอบงาน  การติดต่อประสานงาน  การวินิจฉัยสั่งการ

 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ PSRU. ส่วนที่ 4  การควบคุม  การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่  การแก้ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน และการพัฒนางานเพื่อทันต่อเหตุการณ์

ส่วนที่ 5 ความรู้ที่ต้องการในการปฏิบัติงาน PSRU. ส่วนที่ 5 ความรู้ที่ต้องการในการปฏิบัติงาน  ความรู้ความสามารถที่ต้องการของตำแหน่ง และความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ และความรับผิดชอบในฐานะผู้บังคับบัญชา ได้แก่

PSRU. ส่วนที่ 5  ความรู้ที่ต้องการ อาทิ ความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน ความรู้ในศิลปะการบังคับบัญชา การบริหารงาน เทคนิค ความรู้ในทฤษฏีต่างๆ แนวคิดในวิชาชีพ และการประยุกต์ใช้เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ

PSRU. ส่วนที่ 5  ความสามารถทางสติปัญญา อาทิ ระดับการใช้ความคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจในเรื่องที่มีความสำคัญแตกต่างกัน

ส่วนที่ 6 รายละเอียดองค์ประกอบการประเมิน PSRU. ส่วนที่ 6 รายละเอียดองค์ประกอบการประเมิน สำหรับกรรมการให้ความเห็น  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม

ส่วนที่ 7 สรุปความเห็นของคณะกรรมการ PSRU. ส่วนที่ 7 สรุปความเห็นของคณะกรรมการ ผลการประเมิน พิจารณาตามองค์ประกอบในส่วนที่ 3 แล้วสรุปผลการประเมินดังนี้  เหมาะสมให้กำหนดเป็นตำแหน่งระดับ...  ให้คงระดับตำแหน่งไว้ตามเดิม

สวัสดี