แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
Advertisements

แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ว่าที่ร้อยตรี ภูวิช ชัยกรเริงเดช
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จด้วย รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความสามารถมนุษย์ Human Performance Technology Model ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
วิทยนิวส์ สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
(Competency Based Curriculum)
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพรรณี สมบุญธรรม
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
คุณธรรมนำความรู้ บูรณาการคุณค่าความ เป็นมนุษย์ นโยบายการจัด การศึกษา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน Courseware ของ ทบวงมหาวิทยาลัย โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน 5 มีนาคม 2546

ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา ในปัจจุบัน หลักสูตร ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 1,457 1,156 287 2,900 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1,062 137 6 1,205 2,519 1,293 293 4,105 ประมาณการรายวิชา (Course) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 58,000 17,000 8,000 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 42,000 2,000 180 รวม 100,000 19,000 8,180 รายวิชาที่ซ้ำกัน 40% 40,000 17,000 - 50% 50,000 9,500 60% 60,000 11,400

ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา ในปัจจุบัน อาจารย์ ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3,076 11,521 6,103 20,700 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 2,602 5,823 1,065 9,490 5,678 17,344 7,168 30,190 บุคลากรสนับสนุนวิชาการ (เฉพาะสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 12,484

พัฒนาการของการส่งเสริมการพัฒนา Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย ระยะที่ 1 2540-2542 ระยะที่ 2 2543-2545 ระยะที่ 3 2546- CAI for VCS System อาจารย์และอาจารย์ผู้จัดการรายวิชา CD-ROM, Tape, VDO พัฒนาชุดการสอน 11 รายวิชา พัฒนา Home page ของรายวิชา กำหนด Template WBT - Self-access CW พัฒนาได้ 19 รายวิชา ใช้ร่วมกัน พัฒนาระบบ Learning Management System (LMS) สนับสนุน e-Learning สมบูรณ์แบบ เชื่อมโยงความร่วมมือให้แหล่งเรียนรู้ร่วมกัน Web-Based Learning

เป้าหมายของประเทศ Knowledge-based Society Learning Society Learning Oganization กระจายองค์ความรู้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน Anyone Anywhere และ Anytime

ปัญหาการพัฒนา Courseware ในปัจจุบัน ระดับปริญญาตรี มีความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองต่ำ อาจเหมาะสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา Courseware เป็นผลงานทางวิชาการของอาจารย์เป็นทรัพย์สินทางปัญญาต้องมีระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม อาจารย์ส่วนใหญ่ขาดทักษะการสร้าง Courseware และไม่สนใจการเปลี่ยนแปลง

เป้าหมายการพัฒนา Courseware ในมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการเรียนรู้ตามอัธยาศัย (Learning on Demand) เพื่อเสริมบทเรียนปกติโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-study และSelf-access) เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ในการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งต้องมีมาตรฐานที่สามารถตรวจสอบได้

แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย ให้ CW เป็นผลงานทางวิชาการ เช่นเดียวกับตัวหนังสือหรือคู่มือการสอน สนับสนุน Self study-Self Access Center สนับสนุน Technical Support ช่วยอาจารย์พัฒนา CW

แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย (ต่อ) แนวที่ 2 สนับสนุนการสร้างฐานความรู้ย่อยของรายวิชาร่วมกัน ให้ คณาจารย์ในแต่ละสาขาหรือกลุ่มสาขาร่วมมือกันสร้างฐานความรู้ย่อยซึ่งเป็นส่วนประกอบของรายวิชา (Course) ที่ดีที่สุดของมหาวิทยาลัยไทย จัดระบบการบริหารฐานความรู้ย่อยเพื่อให้เกิดการเลือกใช้การแลกเปลี่ยนการพัฒนาต่อยอด โดยยังคงไว้ซึ่งสิทธิและผลประโยชน์ทางวิชาการร่วมกัน

แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย (ต่อ) แนวที่ 3 พัฒนา Learning Management System ระดมกำลังปัญญาของมหาวิทยาลัย ช่วยกันพัฒนา LMS-Thailand ให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ร่วมใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงการใช้ และพัฒนาต่อยอดไม่มีที่สิ้นสุด