แนวทางการสนับสนุนการพัฒนา ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน Courseware ของ ทบวงมหาวิทยาลัย โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน 5 มีนาคม 2546
ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา ในปัจจุบัน หลักสูตร ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 1,457 1,156 287 2,900 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1,062 137 6 1,205 2,519 1,293 293 4,105 ประมาณการรายวิชา (Course) สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 58,000 17,000 8,000 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 42,000 2,000 180 รวม 100,000 19,000 8,180 รายวิชาที่ซ้ำกัน 40% 40,000 17,000 - 50% 50,000 9,500 60% 60,000 11,400
ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา ในปัจจุบัน อาจารย์ ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 3,076 11,521 6,103 20,700 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 2,602 5,823 1,065 9,490 5,678 17,344 7,168 30,190 บุคลากรสนับสนุนวิชาการ (เฉพาะสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 12,484
พัฒนาการของการส่งเสริมการพัฒนา Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย ระยะที่ 1 2540-2542 ระยะที่ 2 2543-2545 ระยะที่ 3 2546- CAI for VCS System อาจารย์และอาจารย์ผู้จัดการรายวิชา CD-ROM, Tape, VDO พัฒนาชุดการสอน 11 รายวิชา พัฒนา Home page ของรายวิชา กำหนด Template WBT - Self-access CW พัฒนาได้ 19 รายวิชา ใช้ร่วมกัน พัฒนาระบบ Learning Management System (LMS) สนับสนุน e-Learning สมบูรณ์แบบ เชื่อมโยงความร่วมมือให้แหล่งเรียนรู้ร่วมกัน Web-Based Learning
เป้าหมายของประเทศ Knowledge-based Society Learning Society Learning Oganization กระจายองค์ความรู้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน Anyone Anywhere และ Anytime
ปัญหาการพัฒนา Courseware ในปัจจุบัน ระดับปริญญาตรี มีความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเองต่ำ อาจเหมาะสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา Courseware เป็นผลงานทางวิชาการของอาจารย์เป็นทรัพย์สินทางปัญญาต้องมีระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม อาจารย์ส่วนใหญ่ขาดทักษะการสร้าง Courseware และไม่สนใจการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายการพัฒนา Courseware ในมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการเรียนรู้ตามอัธยาศัย (Learning on Demand) เพื่อเสริมบทเรียนปกติโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-study และSelf-access) เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ในการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งต้องมีมาตรฐานที่สามารถตรวจสอบได้
แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย ให้ CW เป็นผลงานทางวิชาการ เช่นเดียวกับตัวหนังสือหรือคู่มือการสอน สนับสนุน Self study-Self Access Center สนับสนุน Technical Support ช่วยอาจารย์พัฒนา CW
แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย (ต่อ) แนวที่ 2 สนับสนุนการสร้างฐานความรู้ย่อยของรายวิชาร่วมกัน ให้ คณาจารย์ในแต่ละสาขาหรือกลุ่มสาขาร่วมมือกันสร้างฐานความรู้ย่อยซึ่งเป็นส่วนประกอบของรายวิชา (Course) ที่ดีที่สุดของมหาวิทยาลัยไทย จัดระบบการบริหารฐานความรู้ย่อยเพื่อให้เกิดการเลือกใช้การแลกเปลี่ยนการพัฒนาต่อยอด โดยยังคงไว้ซึ่งสิทธิและผลประโยชน์ทางวิชาการร่วมกัน
แนวคิดในการสนับสนุนการ สร้าง Courseware ของทบวงมหาวิทยาลัย (ต่อ) แนวที่ 3 พัฒนา Learning Management System ระดมกำลังปัญญาของมหาวิทยาลัย ช่วยกันพัฒนา LMS-Thailand ให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ร่วมใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงการใช้ และพัฒนาต่อยอดไม่มีที่สิ้นสุด