ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

Interactive E-learning
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
การวิจัย RESEARCH.
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการฝึกซ้อมการบิน กรณีศึกษาโรงเรียนการบิน
Management Information Systems
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
SYSTEM ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
การเขียนรายงานการวิจัย
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
หลักการเขียนโครงการ.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ ชื่อโครงการ : การประเมินความต้องการตอบสนองการทำงานของ โปรแกรมภาระงาน n-workload ต่อการใช้เป็นระบบ ข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ คณะผู้วิจัย นางสาวพัชรี เจียรนัยกูร ที่ปรึกษาโครงการ นางอาภรณ์ เอี่ยมนิรัตน์ หัวหน้าโครงการ นางผุสนี อัยยะแก้ว ผู้ร่วมวิจัย นางวลาลักษณ์ ช่างสากล ผู้ร่วมวิจัย นายสมเจตน์ วงษ์ชัยพฤกษ์ ผู้ร่วมวิจัย นางบุญธรรม พงษ์ไทย ผู้ร่วมวิจัย นางสำรวย แก้วสีขาว ผู้ร่วมวิจัย

ความสำคัญและที่มาของประเด็นการวิจัย ด้วยปัจจุบัน คณะและหน่วยงานราชการต่างๆ ต้องจัดทำระบบคุณภาพ และพัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน ภายใต้มาตรฐานที่กำกับโดยหลายภาคส่วน ดังนั้น ระบบการจัดเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจึงมีความสำคัญและเป็นหัวใจต่อการรายงานผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง (เพิ่มรายละเอียดให้ชัดเจน)

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษารายละเอียดของข้อมูลที่สำคัญและความจำเป็น ในการบริหารจัดการ และการตัดสินใจ 2. วิเคราะห์คุณลักษณะของโปรแกรมภาระงานในการเก็บบันทึก รายงานตาม ประเด็นในข้อ 1 3. ประเมินความพึงพอใจและประสิทธิภาพของโปรแกรมต่อการตอบสนองภารกิจด้านบริหารของคณะ

วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ดำเนินการหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม n-workload 2. ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของงานวิจัย 3. กำหนดจำนวนตัวอย่างในแต่ละหน่วยงาน 4. แจกแบบสอบถาม / จากการสัมภาษณ์ 5. รวบรวมแบบสอบถาม 6. วิเคราะห์แบบสอบถาม 7. สรุปผลการวิจัย

เพิ่มกลุ่มตัวอย่าง อาจารย์ทุกคนตอบแบบสอบถาม เก็บแบบสอบถามได้ 70%

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ช่วยให้ทราบจุดที่ต้องการพัฒนาในส่วนของระบบการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล และการรายงานว่าให้ข้อมูลในสภาพพร้อมใช้ หรือพร้อมประกอบการตัดสินใจในการบริหารภารกิจต่างๆของคณะ 2. ทราบประเด็นสำคัญ ที่จำเป็นของระบบข้อมูลสารสนเทศที่คณะควรจะมีเพื่อตอบสนองทิศทางของคณะ

แผนการดำเนินงาน ลำดับที่ รายละเอียดกิจกรรม ช่วงเวลา (เดือน) 1 2 3 4 5 6 ร่างและทดสอบแบบสอบถาม 2. ส่งแบบสอบถามและวิเคราะห์ 3. ประชุมกลุ่มย่อยกลุ่มตัวอย่าง 2 ครั้ง 4. วิเคราะห์และสรุป เขียนรายงาน