ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
หลักสูตร มาตรฐานการให้บริการของกรมสรรพสามิต
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
นโยบายด้านบริหาร.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการให้บริการของภาครัฐด้วย E-Government ของเมืองย๊อกยากาต้าร์ ประเทศอินโดนิเซีย ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Partnership for Democratic Local Governance in Southeast-Asia) DELGOSEA สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (European Union) ดำเนินการโดย Konrad Adenauer Stiftung (KAS) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI)

วิสัยทัศน์เมืองย๊อกยากาต้าร์ ย๊อกยากาต้าร์เป็นเมืองแห่งการศึกษาที่มีคุณภาพ, การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม, มีการพัฒนาเมืองและการให้บริการประชาชนที่เป็นเลิศ, ส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม และส่งเสริมภาคประชาสังคมให้มีส่วนร่วม

พันธกิจเมืองย๊อกยากาต้าร์ ส่งเสริมสถาบันการศึกษาในด้านทรัพยากรทางการศึกษาและการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยหลักวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและหลักการแข่งขันเข้ามาปรับใช้การพัฒนาคุณภาพการศึกษา มุ่งส่งเสริมและตระหนักในศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาให้เมืองเป็นศูนย์กลางชั้นนำของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

พันธกิจเมืองย๊อกยากาต้าร์ 3. ส่งเสริมและตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการในพื้นที่พิเศษเมือง ย๊อกยากาต้าร์โดยการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคม 4. ส่งเสริมและสร้างสังคมที่ตระหนักถึงความสำคัญของความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 5. ส่งเสริมและสร้างสังคมประชาธิปไตยโดยการเริ่มจากทัศนคติประชาชนอินโดนีเซียที่ สมานฉันท์และความยุติธรรมทางสังคมด้วยจิตวิญญาณของความสามัคคี

สภาพทั่วไปของเมืองย๊อกยากาต้าร์

ปัจจัยทีส่งผลให้เกิดการดำเนินโครงการ 1. เมืองย๊อกยากาต้าร์เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการศึกษา ทำให้เกิดแรงผลักดันให้ยกระดับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยว เพื่อให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการศึกษาของเมืองดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัจจัยทีส่งผลให้เกิดการดำเนินโครงการ 2. เมืองย๊อกยากาต้าร์เป็นเมืองที่ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ มากนัก ทำให้ต้องมุ่งส่งเสริมการให้บริการที่ดีเข้ามาทดแทน มิเช่นนั้นการลงทุนหรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะหดตัวทำให้เศรษฐกิจของเมืองซบเซาได้

ปัจจัยทีส่งผลให้เกิดการดำเนินโครงการ 3. นายกเทศมนตรีของเมืองย๊อกยากาต้าร์เป็นผู้ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วน โดยได้รับการเลือกตั้งเข้ามารับตำแหน่งถึง 2 สมัย ซึ่งเป็นผลให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จเพราะ ระบบ E – Government เป็นโครงการที่ต้องใช้เวลาในการดำเนินการมาก

วัตถุประสงค์ของการออกแบบระบบและการดำเนินการ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ Best Practices : ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารงานภาครัฐที่มีความโปร่งใส การเพิ่มระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทุกกิจกรรมการพัฒนาของภาครัฐทั้งในขั้นตอนการวางแผน, ขั้นตอน การดำเนินงาน และขั้นตอนการประเมินผล การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของรัฐบาลในการดำเนินสาธารณะและการให้บริการประชาชน

วิธีการดำเนินโครงการ นโยบาย และกรอบกฎหมาย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ภาคประชาชน ( นักเรียน/ ชุมชน)

ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ขั้นธำรงรักษา ขั้นต่อยอดการใช้ประโยชน์

ผลที่ได้รับจากการดำเนินการจัดทำระบบ E – Government ของเมืองJogyakarta เกิดกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนผ่านระบบการศึกษาออนไลน์อย่างกว้างขวาง เกิดความโปร่งใสในการออกใบอนุญาตและการจัดทำงบประมาณ ของหน่วยงานต่าง ๆ อันเนื่องมาจากประชาชนสามารถสืบค้นข้อมูลการดำเนินงานต่างๆ ของภาครัฐผ่านระบบ E – Government ได้

ผลที่ได้รับจากการดำเนินการจัดทำระบบ E – Government ของเมืองJogyakarta มีการการค้าการลงทุนภายในเมืองเพิ่มขึ้น อันเป็นผลมาจากความสะดวกรวดเร็วและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ส่งผลให้เศรษฐกิจของเมืองดีขึ้น เกิดความโปร่งใสในระบบการจัดซื้อจัดจ้างของเมือง ย๊อกยากาต้าร์

ปัจจัยที่ส่งผลให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ ผู้นำองค์กร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชน ผู้มีส่วนร่วมและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การเสริมสร้างศักยภาพ

ข้อสังเกตบางประการ E-Government การเตรียมผู้ให้บริการ การเตรียมผู้รับบริการ วัฒนธรรมองค์การ และวัฒนธรรมท้องถิ่น