แนวคิดในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
Howard Gardner “Five minds for the Future”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การวิจัยในงานประจำ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
1 กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อ ยุคไอที โดย รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ ( นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต ) 7 สิงหาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก เพื่อพัฒนาประเทศในศตวรรษที่ ๒๑ วิจารณ์ พานิช นำเสนอในการสัมมนาวิชาการ คปก. ดุษฎีบัณฑิต คปก. 1,250 คน กับการสร้างความเข้มแข็งให้อุดมศึกษาและระบบวิจัยของประเทศ ๑๙ พ.ค. ๒๕๕๒

สองแนวทาง ผลิตเอง ให้คุณภาพสูง ตรงความต้องการ 80% ผลิตเอง ให้คุณภาพสูง ตรงความต้องการ 80% ส่งไปเรียนต่างประเทศ 20% เลือกส่งตามจำเป็น

บัณฑิตปริญญาเอกคุณภาพสูง ประเทศไทยเพิ่งมีระบบ สร้าง บัณฑิตปริญญาเอกคุณภาพสูง เมื่อปี ๒๕๔๐ เป็นต้นมา

เราค้นพบระบบ คปก. นี้ ทั้ง By Design และ By Serendipity

ทั้งด้านขนาด (ปริมาณ) และคุณภาพ เพื่อความอยู่รอดของประเทศไทย ยังต้องวิวัฒน์ระบบ ทั้งด้านขนาด (ปริมาณ) และคุณภาพ เพื่อความอยู่รอดของประเทศไทย ในสภาพของความไม่แน่นอน ของโลก

ของสังคมไทยและสังคมโลก ใช้ยุทธศาสตร์ของระบบเปิด และเรียนรู้ โดย ต่อยอด/หยั่งราก ความสำเร็จ เชื่อมโยงกับทุกส่วน ของสังคมไทยและสังคมโลก ใช้ยุทธศาสตร์ของระบบเปิด และเรียนรู้

การผลิตบัณฑิตปริญญาเอกคุณภาพสูงมีประโยชน์อย่างไรบ้าง พัฒนาคน บัณฑิต อาจารย์ พัฒนาระบบ อุดมศึกษา – บัณฑิตศึกษา วิจัย การจัดการวิชาการ พัฒนาผลงานวิชาการ ตีพิมพ์ ประยุกต์ – เชื่อมผู้ใช้ พัฒนาความสัมพันธ์ ตปท. ร่วมมือ เชื่อถือ reversed colonization

การผลิตบัณฑิตปริญญาเอกคุณภาพสูงมีประโยชน์อย่างไรบ้าง อุดมศึกษา & วิจัย Self-reliance Collaboration on equal basis รู้คุณค่าของสมอง ยกระดับการวิจัยของประเทศ จากระบบปัจเจก สู่ระบบทีมวิจัย วิทยานิพนธ์โจทย์ไทย ประหยัดเงินตราต่างประเทศ 2 – 3 เท่า พัฒนาวัฒนธรรมบากบั่น ตรงกันข้ามกับ ว. ๓ ง่าย เรียนรู้กระบวนการสร้างสรรค์วิชาการ สร้างตัวอยู่ในเครือข่าย

การผลิตบัณฑิต ป. เอก ของไทยในปัจจุบันมีกี่แบบ ผลิตนักวิชาการ / วิจัย คุณภาพสูง ผลิตผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้สูงขึ้น เพิ่มฐานานุภาพ หารายได้เข้าสถาบัน แบบที่ 2 และ 3 ผู้เรียนต้องจ่ายค่าเล่าเรียนเอง แบบแรกรัฐต้องมีทุนสนับสนุน

National Brain Distribution ระบบตลาดเสรีไม่เอื้อ เกิด market failure และเกิด Brain Drain รัฐต้องเข้าแทรกแซง โดยจัดสรรทุน และระบบการจัดการ ดึงดูดสมองชั้นเลิศจำนวนหนึ่ง เข้าสู่ระบบวิชาการ

นศ. / บัณฑิต ได้อะไร รร. วิธีตั้งโจทย์วิจัย เครือข่ายวิจัย high end รู้ความต้องการวิจัย วิธีวิทยาวิจัย ชีวิตนักวิจัย วัฒนธรรมวิจัย รู้รสชาติความยากลำบาก ผลงานวิจัย ปริญญา Lifetime mentor เครือข่ายวิจัย high end เข้าวงการวารสารวิชาการ เครือข่ายผู้ใช้ เข้าวงการแหล่งทุน ความยอมรับนับถือ ปฏิสัมพันธ์รุ่นพี่ รุ่นน้อง เข้าวงการนานาชาติ

อจ. ที่ปรึกษา ได้อะไร ศิษย์เอก ครูด้านสร้างสรรค์หลุดกรอบ เพื่อนร่วมงานตลอดชีพ สร้างทีมวิจัยต่อเนื่อง เป็นเจ้าสำนัก ผลงานวิจัย, impact factor บรรยากาศสร้างสรรค์ Co-advisor, Co-investigator ตปท. วงการนานาชาติ วงการไทยภาคชีวิตจริง รางวัล การยอมรับนับถือ Self actualization

สังคมไทยได้อะไร ระบบอุดมศึกษาใหม่ Self-reliance ด้านบัณฑิตศึกษา บัณฑิตศึกษาที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายสร้างสรรค์สังคม, เศรษฐกิจ เครื่องมือ global player กระบวนทัศน์ใหม่เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ ระบบอุดมศึกษาใหม่ ระบบสร้างสรรค์สังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน สังคมที่ลุ่มลึก และเชื่อมโยง ลดความฉาบฉวย

สู่ความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑ ยุค 4G ความรู้ท่วมท้น คนลุ่มหลงความสดวกสบาย ไม่ใฝ่รู้ ไม่สู้สิ่งยาก มายา / การเมือง เรื่องความรู้ K Generation vs K Translation Globalization vs Localization Planet Earth vs Human Civilization อุดมศึกษาในฐานะส่วนหนึ่งของสังคมไทย ให้ > รับ

สู่ความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑ (๒) (Un)Limited Resources Transformative Learning การเรียนรู้เพื่อ liberate vs เพื่อรับใช้ การศึกษาที่ เพิ่ม / ลด อัตตา ตัวกู ของกู การศึกษาที่เพิ่มความมั่นใจตนเอง และเคารพผู้อื่น เคารพธรรมชาติ การศึกษาที่ เพิ่ม / ลด ศักยภาพของความเป็นมนุษย์ การศึกษาเพื่อสันติ vs ความขัดแย้ง

สู่ความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑ (๓) จินตนาการกับการเรียนรู้ Imagination-based vs Doctrine-based Graduate Studies บัณฑิตศึกษาแบบกล้าแหวกแนว สร้างวิธีวิทยาการวิจัยใหม่ จากแผ่นดินแม่ สร้างระบบบัณฑิตศึกษาใหม่ ไม่ยึดติดระบบเก่า