เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher เทคโนโลยี (Technology) ......... สารสนเทศ (Information) ........ ครู (Teacher) / การศึกษา ( Education)
เทคโนโลยี (Technology) ( วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ระบบ วิธีการ ) และได้มีการนำมาใช้อย่างแพร่หลาย นวัตกรรม (Innovation)
สารสนเทศ (Information)
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) การประยุกต์ ใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ตลอดจนวิธีการ เพื่อประมวลผลข้อมูล และนำเสนอได้ตามความต้องการ
งานสารสนเทศประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักคือ - การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data) - การจัดกระทำข้อมูล (Processing) วิเคราะห์ แปลความหมาย หาความสัมพันธ์ ประเมินผล - การรายงานผล สารสนเทศ (Information)
ครู (Teacher) / บุคลากรทางการศึกษา ( Education) ผู้ถ่ายทอดความรู้ ให้ความช่วยเหลือ แนะนำ เพื่อ ให้ผู้เรียนได้พัฒนา จนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง
การศึกษา ( Education) การศึกษา เป็น กระบวนการพัฒนาคนให้มีความสามารถในด้านต่าง ๆ ในปัจจุบันการจัดการศึกษามุ่งเน้นให้คนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองให้มีความเจริญงอกงามทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา เพื่อให้เป็นสมาชิกที่ดี เป็นคนที่มีคุณภาพในสังคม การศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้วิธีการเรียน เพื่อการพัฒนาความคิด ความสามารถ หรือ มุ่งสู่อาชีพ การมีงาน
คุณลักษณะของ ครู (Teacher) มีทักษะในการแก้ปัญหา มีความสามารถในการประยุกต์ ให้เหมาะสม มีความสามารถในการเข้าหาแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ เป็นผู้ใฝ่ศึกษา หาความรู้ กล้าคิด กล้าแสดงออก มีเหตุผล ถูกต้อง เหมาะสม มีความสามารถในการถ่ายทอด สภาพปัจจุบัน การศึกษาไทย ครู สิ่งที่เป็นรูปธรรมเป็นอย่างไร ? Project 1
คอมพิวเตอร์..เทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน สภาพห้องพัก ครูระดับประถมศึกษาในยุคข้อมูลข่าวสาร โรงเรียนบ้านร้องอ้อ จ.เชียงใหม่
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ 1. ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู 2. การพัฒนาหลักสูตร 3. การจัดการเรียนรู้ 4. จิตวิทยาสำหรับครู 5. การวัดและประเมินผลการศึกษา 6. การบริหารจัดการในห้องเรียน 7. การวิจัยทางการศึกษา 8. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 9. ความเป็นครู
คุณลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ 1) ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และอัตโนมัติ 2) มีความเร็วในการประมวลผลสูง 3) ผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องและน่าเชื่อถือ 4) มีหน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้มาก
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่ง เริ่มจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นอุปกรณ์สำคัญในการทำงาน นับเป็นยุคเริ่มต้นที่ความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่
คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง ปี ค.ศ. 1959 - 1964 ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ จากห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Lab.)ได้แก่ วิลเลียม ชอคลีย์ (W. Shock) จอห์น บาร์ดีน (J. Bardeen) วอลเตอร์ แบรทเตน (H. W. Brattain) ทรานซิสเตอร์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีขนาดเล็ก และ ใช้พลังงานต่ำ ภาษา Assembly Fortran Cobol หน่วยบันทึกข้อมูลใช้ เทปแม่เหล็ก
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม ปี ค.ศ. 1965 - 1670 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เริ่มปรับเปลี่ยนมาก เนื่องจากมีการพัฒนาแผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit) ผลงานของบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ (Texas Instruments Co.,)
ปี ค.ศ. 1971 ถึงปัจจุบัน VLSI (Very Large Scale Integration) Microprocessor - VLSI (Very Large Scale Integration) Apple II ปี ค.ศ. 1971 ถึงปัจจุบัน VLSI (Very Large Scale Integration) ในรูปของไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ใช้เทคโนโลยี สารกึ่งตัวนำ (Semiconductor)
Digital Computer Digital Computer คือ คอมพิวเตอร์ที่รับรู้ข้อมูลดิจิตอล รวมถึงการเก็บ ประมวลผล และแสดงผลในระบบดิจิตอล ความหมายของ Digital ?
หน่วยวัดความจุข้อมูล บิต (Bit) หน่วยที่เล็กที่สุด ( True/False , 0 / 1) ย่อมาจาก Binary Digit ไบต์ (Byte) กลุ่มของบิต จำนวน 4 ถึง 8 บิต ใช้เข้ารหัสแทนตัวอักษรหรือตัวเลข 1 ตัว
หน่วยวัดความจุข้อมูล (ต่อ) 1 Byte = 4 - 8 Bit 1 Kbyte = 210 Byte = 1024 Byte 1 Mbyte = 210 Kbyte 1 Gbyte = 210 Mbyte K = Kilo M = Mega G = Giga T = Tera
องค์ประกอบในระบบงานคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟท์แวร์ (Software) ข้อมูล ( Data )