วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
Advertisements

การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
( Healthy Public Policy ).  มีนโยบายสาธารณะในการควบคุม การบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ  มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการ.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน พัฒนา Software และคลังความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน

สร้างกรอบแนวคิดพัฒนาร่วมกัน เรียนรู้กระบวนการการจัดการความรู้ ในด้าน ฝึกการเป็น Facilator การเล่าเรื่องราว การถอดบทเรียน การฝึกเขียน AAR(After Action Review) คาดหวังอะไร ที่ทำไว้ได้ผลอย่างไรตามที่คาดหวัง ปัญหาที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง จะทำให้ดีขึ้นอย่างไรในครั้งต่อไป รูปแบบการจัดเวที ใช้การเล่าเรื่องราว และ AAR เพื่อ การสกัดความรู้ ถอดกิจกรรมตัวเอง เปิดเวทีครั้งต่อไป ประเด็นงานที่สนใจ คลังความรู้ ในเวปไซด์ สรุปบทเรียนแต่ละพื้นที่ - ค้นหาและนำเสนองานที่จะทำ ในครั้งต่อไป - ฝึกเล่าเรื่องและบันทึกการทำงาน การพัฒนา Software จัดทำฐานข้อมูล ด้าน Key Person, องค์ความรู้, พื้นที่เครือข่าย - ทำ Weblog เน้น บันทึกเล่าเรื่องของสมาชิกในเครือข่าย จัดเวทีใหญ่เพื่อถอดบทเรียน ภาค/ประเทศ

OUTCOME ได้องค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในมิติต่างๆ ของชุมชน ได้การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ได้ software ด้านการจัดการความรู้ของ อสม. และข้อมูลของเครือข่ายที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

ประเด็นการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน อปท.กับการควบคุมพื้นที่ขายเหล้า บุหรี่ในชุมชน อสม.กับการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในอาหาร วิทยุชุมชนกับงานคุ้มครองผู้บริโภค การรณรงค์ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย รณรงค์แหล่งจำหน่าย/บริการอาหารสะอาด ยาชุดยา แก้ปวด ในชุมชน การรู้เท่าทันการขายตรง ชุมชนต้นแบบด้านการคุ้มครองผู้บริโภค

พื้นที่เป้าหมาย 11 จังหวัด ได้แก่ ภาคกลาง : ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา 11 จังหวัด ได้แก่ ภาคกลาง : ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา ภาคเหนือ : นครสวรรค์, พิษณุโลก , ลำปาง ภาคอีสาน : ขอนแก่น, สุรินทร์ , สกลนคร ภาคใต้ : สงขลา, นครศรีธรรมราช, พัทลุง

สรุปบทเรียน และ ผลของการดำเนินของโครงการใน 3 ประเด็น สรุปบทเรียน และ ผลของการดำเนินของโครงการใน 3 ประเด็น

บทเรียนที่ได้รับจากการใช้กระบวนการ KM เริ่มต้นจากชุมชน มีการตั้งเป้าประสงค์ของงานคุ้มครองผู้บริโภค สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (LO/KM) เพื่อให้เกิดการปรึกษาหารือ รับฟังอย่างเป็นกัลยาณมิตร สร้างการทำงานเป็นทีม เกิดการสร้างกลุ่มทีมงาน ภาคีเครือข่าย มีการจัดภาระกิจหน้าที่แต่ละกลุ่มที่เกี่ยวข้องในชุมชน องค์ความรู้ใหม่ ที่เป็นการสร้างผลผลิต / นวตกรรม เชิงกระบวนการทำงานที่ทำให้คนทำงานเกิดความสุข ปัจจัยที่ก่อให้ เกิดผลสำเร็จในการดำเนินงาน เวทีการถอดบทเรียน (KM) เกิดโครงการ / กิจกรรมงานคคส.ในชุมชน เกิด CoPs (ชุมชนนักปฏิบัติการ)

(1) พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้กับ อสม (1) พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน

(2) สร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค การจัดการความรู้เป็นกระบวนการเชิงปฏิบัติการที่ทำให้ชาวบ้านตระหนักถึงปัญหาในชุมชน และค้นหารูปแบบการแก้ไขปัญหา ทำให้ชาวบ้านมีการปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค เกิดกระบวนการสร้างทีมงานให้มีศักยภาพ และนำไปสู่การเปลี่ยนแนวคิด และการสร้างจิตสำนึกใหม่ สิ่งที่พบในกระบวนการ คือ การเปลี่ยนแปลงวิธีคิดในเรื่องวิถีการผลิต จากเน้นการพึ่งพิงอาหารในตลาด มาสู่การผลิต การปลูกเพื่อการบริโภคเองในชุมชน และชุมชนเปลี่ยนกระบวนทัศน์มาผลิตอาหารปลอดภัยที่ชัดเจน

สร้างแนวทางการทำงานในลักษณะเครือข่าย โดยเน้นลักษณะการที่เอาใจแลกกันให้เกิดการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข ความรู้ที่เกิดขึ้น เกิดจากกระบวนการสะท้อนข้อมูล เพื่อรวบรวมพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในชุมชน ทำให้เกิดความเข้าใจการพัฒนาแบบองค์รวม อันจะนำไปสู่การสร้างวิธีคิด เพื่อการพึ่งพาตนเอง เกิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ นอกจากนี้ เกิดการพิทักษ์สิทธิของชุมชน

(3) คลังความรู้ : การพัฒนาเวปไซต์ โดยใช้ weblog มีเว็บไซต์ใช้งานได้,มีคลังความรู้ งานคุ้มครองผู้บริโภค 11 จังหวัด พัฒนาเทคนิคการเขียน เล่าเรื่อง บนเวปไซต์ พัฒนาการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างเครือข่าย สร้างฐานข้อมูลอสม. ดีเด่นสาขาคุ้มครองผู้บริโภค

www.phcblog.net