วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน พัฒนา Software และคลังความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน
สร้างกรอบแนวคิดพัฒนาร่วมกัน เรียนรู้กระบวนการการจัดการความรู้ ในด้าน ฝึกการเป็น Facilator การเล่าเรื่องราว การถอดบทเรียน การฝึกเขียน AAR(After Action Review) คาดหวังอะไร ที่ทำไว้ได้ผลอย่างไรตามที่คาดหวัง ปัญหาที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง จะทำให้ดีขึ้นอย่างไรในครั้งต่อไป รูปแบบการจัดเวที ใช้การเล่าเรื่องราว และ AAR เพื่อ การสกัดความรู้ ถอดกิจกรรมตัวเอง เปิดเวทีครั้งต่อไป ประเด็นงานที่สนใจ คลังความรู้ ในเวปไซด์ สรุปบทเรียนแต่ละพื้นที่ - ค้นหาและนำเสนองานที่จะทำ ในครั้งต่อไป - ฝึกเล่าเรื่องและบันทึกการทำงาน การพัฒนา Software จัดทำฐานข้อมูล ด้าน Key Person, องค์ความรู้, พื้นที่เครือข่าย - ทำ Weblog เน้น บันทึกเล่าเรื่องของสมาชิกในเครือข่าย จัดเวทีใหญ่เพื่อถอดบทเรียน ภาค/ประเทศ
OUTCOME ได้องค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในมิติต่างๆ ของชุมชน ได้การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน ได้ software ด้านการจัดการความรู้ของ อสม. และข้อมูลของเครือข่ายที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
ประเด็นการคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน อปท.กับการควบคุมพื้นที่ขายเหล้า บุหรี่ในชุมชน อสม.กับการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในอาหาร วิทยุชุมชนกับงานคุ้มครองผู้บริโภค การรณรงค์ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดภัย รณรงค์แหล่งจำหน่าย/บริการอาหารสะอาด ยาชุดยา แก้ปวด ในชุมชน การรู้เท่าทันการขายตรง ชุมชนต้นแบบด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
พื้นที่เป้าหมาย 11 จังหวัด ได้แก่ ภาคกลาง : ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา 11 จังหวัด ได้แก่ ภาคกลาง : ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา ภาคเหนือ : นครสวรรค์, พิษณุโลก , ลำปาง ภาคอีสาน : ขอนแก่น, สุรินทร์ , สกลนคร ภาคใต้ : สงขลา, นครศรีธรรมราช, พัทลุง
สรุปบทเรียน และ ผลของการดำเนินของโครงการใน 3 ประเด็น สรุปบทเรียน และ ผลของการดำเนินของโครงการใน 3 ประเด็น
บทเรียนที่ได้รับจากการใช้กระบวนการ KM เริ่มต้นจากชุมชน มีการตั้งเป้าประสงค์ของงานคุ้มครองผู้บริโภค สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (LO/KM) เพื่อให้เกิดการปรึกษาหารือ รับฟังอย่างเป็นกัลยาณมิตร สร้างการทำงานเป็นทีม เกิดการสร้างกลุ่มทีมงาน ภาคีเครือข่าย มีการจัดภาระกิจหน้าที่แต่ละกลุ่มที่เกี่ยวข้องในชุมชน องค์ความรู้ใหม่ ที่เป็นการสร้างผลผลิต / นวตกรรม เชิงกระบวนการทำงานที่ทำให้คนทำงานเกิดความสุข ปัจจัยที่ก่อให้ เกิดผลสำเร็จในการดำเนินงาน เวทีการถอดบทเรียน (KM) เกิดโครงการ / กิจกรรมงานคคส.ในชุมชน เกิด CoPs (ชุมชนนักปฏิบัติการ)
(1) พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้กับ อสม (1) พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน
(2) สร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค การจัดการความรู้เป็นกระบวนการเชิงปฏิบัติการที่ทำให้ชาวบ้านตระหนักถึงปัญหาในชุมชน และค้นหารูปแบบการแก้ไขปัญหา ทำให้ชาวบ้านมีการปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค เกิดกระบวนการสร้างทีมงานให้มีศักยภาพ และนำไปสู่การเปลี่ยนแนวคิด และการสร้างจิตสำนึกใหม่ สิ่งที่พบในกระบวนการ คือ การเปลี่ยนแปลงวิธีคิดในเรื่องวิถีการผลิต จากเน้นการพึ่งพิงอาหารในตลาด มาสู่การผลิต การปลูกเพื่อการบริโภคเองในชุมชน และชุมชนเปลี่ยนกระบวนทัศน์มาผลิตอาหารปลอดภัยที่ชัดเจน
สร้างแนวทางการทำงานในลักษณะเครือข่าย โดยเน้นลักษณะการที่เอาใจแลกกันให้เกิดการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข ความรู้ที่เกิดขึ้น เกิดจากกระบวนการสะท้อนข้อมูล เพื่อรวบรวมพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงในชุมชน ทำให้เกิดความเข้าใจการพัฒนาแบบองค์รวม อันจะนำไปสู่การสร้างวิธีคิด เพื่อการพึ่งพาตนเอง เกิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ นอกจากนี้ เกิดการพิทักษ์สิทธิของชุมชน
(3) คลังความรู้ : การพัฒนาเวปไซต์ โดยใช้ weblog มีเว็บไซต์ใช้งานได้,มีคลังความรู้ งานคุ้มครองผู้บริโภค 11 จังหวัด พัฒนาเทคนิคการเขียน เล่าเรื่อง บนเวปไซต์ พัฒนาการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างเครือข่าย สร้างฐานข้อมูลอสม. ดีเด่นสาขาคุ้มครองผู้บริโภค
www.phcblog.net