พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จุดประกายความคิด พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิจัย ฟิสิกส์ศึกษา ใสภาพกิจกรรมที่เราทำกันเมื่อวาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล http://neural.sc.mahidol.ac.th/
จุดประกายความคิด พิชิตโครงงาน ภาพสังเกตรอบแรก
จุดประกายความคิด พิชิตโครงงาน ภาพคำถามและกิจกรรมการปรับคำถาม
จุดประกายความคิด พิชิตโครงงาน ออกแบบการทดลอง
จุดประกายความคิด พิชิตโครงงาน ทำการทดลองและเก็บข้อมูล
จุดประกายความคิด พิชิตโครงงาน การนำเสนอ
วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น (Local Science) Mini science project
กลยุทธ์…การทำโครงงานให้สัมฤทธิ์ผล ขั้นตอนการทำโครงงาน กลยุทธ์…การทำโครงงานให้สัมฤทธิ์ผล กำหนดปัญหา 1 ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2 ตั้งสมมติฐาน 3 ออกแบบการทดลอง 4 ทำการทดลองและบันทึกผล 5 วิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง 6 เผยแพร่ผลงาน 7
Why What How
ไม่มองไกลเลิศเลอถึงขั้นเพ้อฝัน แค่อยู่ในชีวิตประจำวันและใกล้ตัว ขั้นที่ 1 การกำหนดปัญหา สำคัญมาก เพราะ เป็นจุดเริ่มต้น ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กลยุทธ์ ไม่มองไกลเลิศเลอถึงขั้นเพ้อฝัน แค่อยู่ในชีวิตประจำวันและใกล้ตัว มอง = สังเกต (อย่างลึกซึ้ง) และ สงสัย
Why? What? How?
คำถามทั่วไป คำถามเชิงวิจัย ทำไมใบพลูด่างที่ระดับความสูงต่างกันมีขนาดต่างกัน คำถามทั่วไป คำถามเชิงวิจัย ที่ระดับความสูงต่างกัน ใบพลูด่างมีขนาดต่างกันหรือไม่
ขั้นที่ 2 ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง ตีโจทย์ให้แตก แยกคำสำคัญ กลยุทธ์
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง - ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพลูด่าง เทคนิคการวัด พันธุ์ของพลูด่าง
ขั้นที่ 3 ตั้งสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน คาดเดาคำตอบ ตีกรอบสิ่งที่จะศึกษา
สมติฐาน ที่ระดับความสูงต่างกัน ใบพลูด่างจะมีขนาดต่างกัน คำถามวิจัย ที่ระดับความสูงต่างกัน ใบพลูด่างมีขนาดต่างกันหรือไม่ สมติฐาน ที่ระดับความสูงต่างกัน ใบพลูด่างจะมีขนาดต่างกัน
ขั้นที่ 4 ออกแบบการทดลอง กลยุทธ์ ออกแบบอย่างมีระบบ ระบุตัวแปร แฉ....ความสัมพันธ์ ถ้าเปลี่ยน ตัวแปรต้น แล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับ ตัวแปรตาม ต้องควบคุมสิ่งอื่นให้เหมือนกัน
ตัวแปรต้น: ระดับความสูง ตัวแปรตาม: ขนาดของใบ คำถามวิจัย ที่ระดับความสูงต่างกัน ใบพลูด่างมีขนาดต่างกันหรือไม่ ตัวแปรต้น: ระดับความสูง ตัวแปรตาม: ขนาดของใบ ควบคุม: วิธีการวัดขนาดของใบ บริเวณที่ศึกษาต้นพลูด่าง ความสมบูรณ์ของใบ
เพิ่มระดับความสูงที่จะวัด นิยามขนาด ให้ชัดเจน จำนวนใบที่จะวัด นิยามเชิงปฏิบัติการสำหรับคำว่าขนาดเราจะวัดยังไง นิยามให้ชัดเจน เพิ่มระดับความสูงที่จะวัด
นิยามเชิงปฏิบัติการสำหรับคำว่าขนาดเราจะวัดยังไง นิยามให้ชัดเจน
ขั้นที่ 5 ทำการทดลองและเก็บข้อมูล กลยุทธ์ BE A SCIENTIST ทำตามแผน ทำตามระบบ บันทึกผลทุกครั้ง ทำการทดลองซ้ำ
เพิ่มหน่วย ค่าเฉลี่ย เพิ่มระดับความสูง
ขั้นที่ 6 วิเคราะห์และสรุปผล ต้องซื่อสัตย์: ยึดผลการทดลองเป็นหลัก กลยุทธ์ อย่า เปลี่ยนผลการทดลองเพื่อให้สอดคล้องกับสมมติฐาน
ไม่สรุปเกินกว่าที่ทดลอง นำเสนอแบบกราฟ ไม่ทำลายตัวอย่าง ไม่สรุปเกินกว่าที่ทดลอง รูปแบบการนำเสนอให้เข้าใจง่าย เช่น ใช้กราฟเส้นแทน ไม่ทำลายตัวอย่าง ไม่สรุปผลไปเกินกว่าขอบเขตที่เราได้ทำการทดลองมา
ขั้นที่ 7 เผยแพร่ผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แหล่งเผยแพร่ วารสารวิชาการ งานประชุมวิชาการ เช่น วทร. วทท. การประกวดโครงงาน
เคล็ด(ไม่)ลับ สำหรับครู เรียนรู้ (ทดลอง) ด้วยตนเอง ตามความถนัดและสนใจของนักเรียน คำนึงถึงทรัพยากรท้องถิ่น
กิจกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ (จำนวนคาบ..../......ภาคเรียน) สาระการเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ (คาบ) - จากที่ได้ที่ได้ทำกิจกรรมมาทั้งหมดทั้งสองวัน จะให้อาจารย์ได้ลองคิดว่า คำว่าวิชาโครงงานวิทย์ อาจารย์จะสอนนักเรียนในแต่ละขั้นอย่างไร และจะใช้เวลาเท่าใด ให้ทำงานกับเป็นคู่ โดยจุคู่สาขาเดียวกัน ให้เวลา ครึ่งชั่วโมง และเรามีแบบฟอร์มให้อาจารย์บันทึกลงไป ซึ่งอยู่ในแฟ้มของอาจารย์ เราจะสุ่มตัวอย่างออกมานำเสนอและร่วมอภิปรายกัน