สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้ โครงงาน สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
ปัญหาในการทำโครงงาน ที่มาและความสำคัญ ระหว่างผ้าสีแดง สีชมพู สีขาว สีใดดูดกลืนความร้อนดีที่สุด ที่มาและความสำคัญ จากการศึกษาสถานการณ์ที่กำหนดให้ กลุ่มของข้าพเจ้าสนใจ เกี่ยวกับการดูดกลืนความร้อนของผ้าสีต่างๆ จึงทำการทดลอง โดยใช้ผ้า สักกะหลาดสีต่างๆทั้ง 3 สี คือ สีแดง สีชมพู สีขาว
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาการดูดกลืนความร้อนของผ้า สักกะหลาด ทั้ง 3 สี 2. เพื่อทดลองเปรียบเทียบการดูดกลืนความร้อนของผ้า สักหลาดทั้ง 3 สี 3. เลือกเสื้อผ้าสีที่ดูดกลืนความร้อนน้อยที่สุดในวันที่เราไปอยู่กลางแดด สมมุติฐาน ผ้าสักหลาดสีแดงจะดูดกลืนความร้อนมากที่สุด
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง นิยามเชิงปฏิบัติ / ขอบเขตของการทดลอง ตัวแปรต้น : ผ้าสักหลาดสีแดง สีชมพู สีขาว ตัวแปรตาม : การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ตัวแปรควบคุม : ชนิดและขนาดของผ้า เทอร์โมมิเตอร์ชนิดเดียวกัน นิยามเชิงปฏิบัติ / ขอบเขตของการทดลอง ผ้าสักหลาด หมายถึงผ้าสักหลาดมีขายตามท้องตลาดขนาดกว้าง 35.5 cm ยาว 25.5 cm
วิธีดำเนินการ อุปกรณ์ รายชื่ออุปกรณ์ ขนาด จำนวน 1. ผ้าสักหลาดสีแดง 2. ผ้าสักหลาดสีชมพู 3. ผ้าสักหลาดสีขาว 4. เทอร์โมมิเตอร์ กว้าง 35.5 X 25.5 - 1 ผืน 3 อัน
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. วัดความกว้างความยาวของผ้าทุกสีให้เท่ากัน แล้วตัดออก 2. พับครึ่งแล้วสอดเทอร์โมมิเตอร์เข้าด้านใน 3. วัดอุณหภูมิเริ่มต้น แล้วนำผ้าทั้ง3สี ไปวางไว้กลางแดด 4. สังเกตอุณหภูมิหลังการทดลอง บันทึกผล 5. ทำซ้ำอีก2ครั้ง บันทึกผล หาค่าเฉลี่ย
บันทึกผลการทดลอง ครั้งที่ สีแดง สีชมพู สีขาว ก่อน หลัง 1 2 3 32 35 34 43 33 42 41 เฉลี่ย 33.2 33.1
แผนภูมิแสดงการดูดกลืนความร้อนของผ้าทั้ง 3 สี
สรุปผลการทดลอง ข้อเสนอแนะ ผ้าสีแดงดูดกลืนความร้อนมากที่สุด ผ้าสีขาวดูดกลืนความร้อนน้อยที่สุด ข้อเสนอแนะ ควรใส่ผ้าสีอ่อนในเวลาร้อน และ ควรใส่ผ้าสีเข้มในเวลาหนาว ความรู้สึกต่อการทำงานชิ้นนี้ รู้สึกดีต่อโครงงานนี้ เพราะได้รู้เกี่ยวกับการใส่เสื้อสีอะไรเป็นอย่างไร
หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การถ่ายโอนความร้อนมี2ประเภท ได้แก่ 1. การนำความร้อน หมายถึง การถ่ายโอนความร้อนโดยความร้อนเคลื่อนที่จากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปตามเนื้อวัตถุ 2. การพาความร้อน หมายถึง การถ่ายโอนความร้อนจากอุณหภูมิไปที่มีอุณหภูมิต่ำ 3. การแผ่รังสี หมายถึง การถ่ายโอนความร้อนที่เกิดจากแหล่งความร้อนหนึ่ง ถ่านโอนความร้อนไปยังสารที่มีอุณหภูมิตํ่ากว่า โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง
คณะผู้จัดทำ เด็กชาย อภิชาติ อัศว์วิเศษศิวะกุล เลขที่ 8 เด็กชาย ชาตรี วิทูรสถิตธรรม เลขที่ 2 เด็กชาย อภิชาติ อัศว์วิเศษศิวะกุล เลขที่ 8 เด็กชาติวทัญญู สืบถิ่น เลขที่ 9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 3 โรงเรียนวัดประยุรวงศาวาส ที่ปรึกษา : 1. พ่อ แม่ และพี่ 2. ครูวนิดา ตั้งเตชานนท์
แบบบันทึกผลการประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ รายการประเมิน คะแนน เต็ม ที่ได้ หมายเหตุ 1.การกำหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน 2 1.ตารางบันทึกผลไม่ชัดเจน 2.การใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 2.กราฟไม่ชัดเจน 3.การออกแบบการทดลอง 3 4.การดำเนินการทดลอง 5.การบันทึกข้อมูล 6.การจัดกระทำข้อมูล 7.การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผล 8.ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 9.การเขียนรายงาน รวม 25 23