ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี )
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
จัดทำโดย น.ส. เสาวณี จันทร์แก้ว คพ50.ค5.1
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
กรอบอัตรากำลัง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.จังหวัด) (18) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด (1) คณะกรรมการ กศน. จังหวัด/กทม.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
การสัมมนาสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน ประจำปี 2551 แผนการดำเนินการ ประจำปี 2551 สถาบันความปลอดภัย ในการทำงาน 1.
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
นโยบายด้านบริหาร.
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
กลุ่มที่ 4.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔. วัตถุประสงค์ ๑ ) เพื่อการบริบาล และการเยียวยา (Healing) อย่างทั่วถึง อย่างทั่วถึง ๒ ) เพื่อเศรษฐกิจ - การมีสัมมาชีพ ๓ ) เพื่อพัฒนาคน.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ สถานภาพของคนพิการ อุปสรรค/สิ่งกีดขวาง สังคมทั่วไป การกีดกัน ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ ขาดสถานภาพทางสังคม

การปรับกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) ความเมตตา เวทนาสงสาร ทำบุญ (Charity-based approach) คำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและความเสมอภาค (Rights-based approach)

วิวัฒนาการของกฎหมายฯ ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชน ฟื้นฟูสมรรถภาพ พัฒนา สวัสดิการ ความสงสาร

การสำรวจความพิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2550 การสำรวจความพิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2550 1. ประชากรที่พิการ ผลการสำรวจ พบว่า จำนวนประชากรประมาณ 65.5 ล้าน เป็นผู้ที่พิการประมาณ 1.9 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และเมื่อพิจารณาประชากรที่พิการเปรียบเทียบต่อประชากรเพศและเขตการปกครองเดียวกัน พบว่า เพศหญิงมีประชากรที่พิการมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 2.7 ตามลำดับ) โดยนอกเขตเทศบาลมีร้อยละของประชากรที่พิการมากกว่าประมาณ 2 เท่าของในเขตเทศบาล

ตาราง 1. จำนวนและร้อยละของประชากรที่พิการ. ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ ตาราง 1 จำนวนและร้อยละของประชากรที่พิการ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เพศ เขตการปกครอง จำนวน จำนวน ร้อยละ และภาค ประชากร ประชากรที่พิการ ของประชากรที่ พิการ ภาค กรุงเทพมหานคร 6,890,722 33,392 0.5 กลาง (ไม่รวม กทม.) 15,967,812 346,028 2.2 รวม 22,858,534 คน รวม 379,420 คน หมายเหตุ: ร้อยละคำนวณจากประชากร เพศ เขตการปกครอง และภาคเดียวกัน

ตาราง 2. สถิติจดทะเบียนคนพิการ ตาราง 2 สถิติจดทะเบียนคนพิการ จากสำนักส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ตั้งแต่ เดือน พ.ย. 2537 – ก.ย. 2550 เพศ เขตการปกครอง จำนวน จำนวน ร้อยละ และภาค ประชากร ประชากรที่พิการ ของประชากรที่ พิการ ทั่วประเทศไทย 721,489 ภาค กรุงเทพมหานคร 34,999 0.5 กลาง+ ตะวันออก 162,176 2.2 รวม 197,175 คน หมายเหตุ: สถิตินี้ได้มากจาก สำนักส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ

คนพิการภาคกลาง และกรุงเทพมหานครยังไม่ได้จดทะเบียน จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ร้อยละ 2.9 ของประชาชนไทยเป็นคนพิการภาคกลางและกรุงเทพมหานคร รวม 379,420 คน สถิติคนพิการที่จดทะเบียนกับสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคนพิการไทย รวม 197,175 คน คนพิการภาคกลาง และกรุงเทพมหานครยังไม่ได้จดทะเบียน = 182,245 คน

ประชากรพิการที่มีความลำบาก/ปัญหาสุขภาพหรือมีความลำบากในการดูแลตนเอง หรือมีลักษณะความบกพร่อง ประกากรที่พิการ 1.9 ล้านคน เป็นผู้ที่มีความลำบาก/ปัญหาสุขภาพประมาณ 1.8 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 97.9 ของประชากรพิการ มีความลำบากในการดูแลตนเอง ประมาณ 0.4 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 21.0 และมีลักษณะความบกพร่องประมาณ 1.3 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 70.5 จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

4. ระดับการศึกษาที่กำลังเรียนของประชากรที่พิการ 4. ระดับการศึกษาที่กำลังเรียนของประชากรที่พิการ จากการสำรวจพบว่า ประชากรที่พิการ อายุ 5-30 ปี จำนวน 2.3 แสนคน มีถึงร้อยละ 81.7 ที่ไม่ได้กำลังเรียนหรือ ไม่เคยเรียน และมีเพียงร้อยละ 18.3 ที่กำลังเรียน ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 9.5 กำลังเรียนในระดับประถมศึกษา รองลงมาเรียนระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 6.0 ) และระดับปริญญาตรี มีเพียง ร้อยละ 0.5 จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

5. การทำงานและอาชีพของประชากรที่พิการ 5. การทำงานและอาชีพของประชากรที่พิการ ประชากรที่พิการอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 1.8 ล้านคนเป็น ผู้ที่มีงานทำในรอบปีที่แล้ว 0.6 ล้านคนหรือร้อยละ 35.2 และเป็นผู้ไม่ได้ทำงานจำนวน 1.2 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 64.8 โดยในกลุ่มผู้ทำงานนั้นเป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือ ในด้านการเกษตรและประมงมากที่สุด (ร้อยละ 19.4) รองลงมามีอาชีพขึ้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย การให้บริการและผู้ใช้แรงงาน (ร้อยละ 4.8) จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

โครงการ ประชุมเครือข่ายการทำงานและจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก พ.ศ. 2551

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ การปฏิบัติ ? กฎหมาย พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ๒๕๕๐ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ การปฏิบัติ ?

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่หน่วยงาน บุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๒. กำหนดทิศทางการทำงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในเขตพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก ๓. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก ๔. เพื่อจัดตั้งศูนย์ประสานงานคนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก