PBL : Problem – based Learning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรขา อรัญวงศ์
กำหนดสถานการณ์ปัญหา ส่งเสริมให้เกิดการใช้ความรู้ + ทักษะ แก้ปัญหา ส่งเสริมการทำงานกลุ่ม + ฝึกทักษะทางสังคม
แนวคิด / ทฤษฎีพื้นฐาน การสร้างความรู้ (Constructivism) การสร้างความรู้ โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทาง สังคม (Social Constructivism)
เทคนิควิธี (หลากหลาย) เทคนิควิธี (หลากหลาย) การใช้คำถาม กระบวนการกลุ่ม Concept mapping ระดมความคิด Card technic Matrix board อภิปรายกลุ่มย่อย ฯลฯ
ขั้นตอนหลักในการสอนแบบ PBL 1. ระบุปัญหา / เสนอสถานการณ์ปัญหา / เสนอเงื่อนไขของงาน
2. วางแผน / ออกแบบ เพื่อดำเนินงาน (สืบค้น , ออกแบบชิ้นงาน , หา / ใช้ เครื่องมือ , รวบรวมข้อมูล , ทดลอง , พิสูจน์ , ออกแบบการบันทึกข้อมูล ฯลฯ)
3. ดำเนินการ / ปฏิบัติการ 3. ดำเนินการ / ปฏิบัติการ (ดำเนินการทดลอง , ดำเนินการ ค้นคว้า , ดำเนินการสร้าง, ดำเนินการ พิสูจน์และปรับปรุงผลงาน ฯลฯ)
4. สรุปผล / นำเสนอผลงาน (องค์ความรู้ที่สร้างขึ้น , ทักษะกระบวนการ ทำงาน / ทักษะกระบวนการกลุ่ม , ทักษะการสื่อสาร ฯลฯ)
ในฐานะที่เป็นอาจารย์ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏกำแพงเพชรเมื่อมีผู้ถามว่า “จังหวัด กำแพงเพชรมีอะไรที่เป็นจุดเด่นหรือน่า ภาคภูมิใจ” ท่านจะตอบอย่างไร
“ความรู้คู่ชุมชน” ท่านจะใช้ประเด็นในชุมชน / ท้องถิ่นกำแพงเพชร เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษา ได้อย่างไร