POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
Advertisements

กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
การนำเสนอผลงานต่อณะ กรรมการตัดสินรางวัล STI THAILAND AWARD ประเภท วิสาหกิจชุมชน.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
Evaluation of Thailand Master Plan
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
การทบทวน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปทุมธานี พ. ศ
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING WWW.SIGA.OR.TH POLICY BRIEF ISSUE 01 June 2013 Catalyst for Strategic Transformation of Thailand DECOUPLING ก้าวต่อไปของประเทศไทย การเจริญเติบโตเศรษฐกิจ โดยใช้ทรัพยากรน้อยและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำ

SIGA will work with you to … •    Identify emerging global challenges; •    Provide open policy platform for discussions; •    Suggest actionable strategies to deal with challenges; … and we aspire to be the catalyst for strategic transformation of Thailand. Director Dr. Suvit Maesincee SIGA - Sasin Institute for Global Affairs Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University Sasa Patasala Building, Soi Chula 12, Phyathai Road, Bangkok 10330, Thailand

1 ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน 1 Resource Decoupling การพัฒนาเศรษฐกิจที่ใช้ทรัพยากรน้อย อดีตและปัจจุบัน พัฒนาเศรษฐกิจโดยอิงกับทรัพยากร (Material Growth) ใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ อนาคต ต้องเน้นการพัฒนาประเทศไทยให้เติบโตโดยใช้ทรัพยากรน้อย (Reduced Material Economic Growth) • กรณีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน: ปรับโครงสร้างการผลิตของประเทศจากเน้นใช้ทรัพยากรเป็นเน้นสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่ม (value creation) พัฒนากลไกในการกำกับดูแล (market signals and regulatory interventions) การควบคุม ไม่ให้เกิด overconsumption สนับสนุน R&D ในการสร้างอุปทานเพิ่ม • กรณีทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป: ต้องลดการใช้ทรัพยากร หาทรัพยากรใหม่ทดแทน ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (encourage resource and energy efficiency policies) • กรณีทรัพยากรที่ฟื้นฟูได้: ใช้ในอัตราที่ฟื้นฟูทัน และมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรักษาและฟื้นฟูธรรมชาติ เพื่อการเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ ลงทุนในนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ยั่งยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

2 Impact Decoupling การพัฒนาเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมน้อย อดีตและปัจจุบัน พัฒนาเศรษฐกิจโดยก่อให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมต่ำ อนาคต ต้องเน้นการพัฒนาประเทศไทยโดยก่อให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมน้อย เพื่อไม่ให้เป็นก่อผลกระทบภายนอก (Externalities) ไม่เป็นภาระในการจัดการมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม และลดผลกระทบต่อสุขภาพประชากรไทย • นโยบายสาธารณะและนโยบายกำจัดผลกระทบภายนอก (Externalities and Public Policies) โดยอาศัยการควบคุมมลพิษ ดำเนินมาตรการทางการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม มุ่งสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Society) ส่งเสริมการมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและตระหนักถึงคุณภาพชีวิต โดยที่สังคมคาร์บอนต่ำจะต้องละทิ้งค่านิยมที่มุ่งเน้นการบริโภค หันมามุ่งเน้นคุณค่าของสถาบันครอบครัว สายใยชุมชน และ ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ • การก้าวสู่การเป็นสังคมหมุนเวียนวัสดุที่ดี (Sound Material Cycle Society) โดยดำเนินโยบาย 3R (Reduce, Reuse, Recycle) เพื่อจัดการปัญหาการเพิ่มขึ้นของขยะและปริมาณขยะที่ไม่ได้บำบัดจัดการอย่างดี อันก่อให้เกิดมลพิษในด้านต่างๆ และจัดการกับปริมาณของวัตถุดิบเสียไปเนื่องจากผลของความไม่มีประสิทธิภาพของทรัพยากรและการบริหารจัดการขยะที่มหาศาล

Mitigation/ เพิ่มประสิทธิภาพ ย่างก้าวแห่งการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน Mitigation/ เพิ่มประสิทธิภาพ GREEN ECONOMY Growth & Development: เพิ่มคุณภาพชีวิต ลดความยากจน เป้าประสงค์ 01 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Competitiveness) ด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (โดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ) สร้างความอยู่ดีมีสุข (Wellbeing) แก่ประชาชน (สร้างเสริมสุขภาพที่ดี ลดต้นทุนค่ารักษาการเจ็บป่วย สิ่งแวดล้อมที่ดี) 02

ประเด็นยุทธศาสตร์ 01 การพัฒนาประเทศอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Economy and Society) โดยปรับรูปแบบการผลิต การผลิตการลงทุน การใช้พลังงาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร การสร้างตัวชี้วัดใหม่ของการพัฒนาเช่น SDG (Sustainable Development Goal), Green Economy Index, Wellbeing Nation Index เป็นต้น การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ (Holistic Management) เช่น การเชื่อมโยงกันระหว่างน้ำ พลังงาน อาหาร และที่ดิน ทั้งในระดับประเทศและอาเซียน การปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเด็นเกิดใหม่ทางสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงใหม่ๆ เช่น ภัยพิบัติ, critical infrastructure การสร้างศักยภาพการบริหารจัดการ (Capacity Building) (อาทิ โครงสร้างพิ้นฐาน กลไก นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม ระบบแรงจูงใจ องค์ความรู้ ชุมชน เพื่อก่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมและความตระหนักทางด้านสิ่งแวดล้อม) 02 03 04