การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
ระบบส่งเสริมการเกษตร
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2545
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
แผนและผล การปฏิบัติงาน ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2553
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
สำนักงานคลังจังหวัดอุทัยธานี
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน พฤษภาคม 2554 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรกฎ ชยุตรารัตน์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพัฒนาธุรกิจ
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57 กรมส่งเสริมการเกษตร กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ

แผน / ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57 ณ 13 กพ.57 ทั้งประเทศ หน่วย : ล้านไร่ เขตพื้นที่ แผนการเพาะปลูก ปี 56/57 พื้นที่ปลูกจริง ปี 56/57 นาปรัง พืชไร่-ผัก รวม ในเขตชลประทาน 6.74 0.54 7.28 8.82 (130%) 0.44 (81%) 9.26 (127%) นอกเขตชลประทาน 4.08 1.64 5.72 4.48 (109%) 1.19 (72%) 5.67 (99%) 10.82 2.18 13.00 13.30 (122%) 1.63 (74%) 14.93 (114%)

ลุ่มน้ำเจ้าพระยา หน่วย : ล้านไร่ 4.74 0.35 5.09 5.87 (202%) (96%) 5.92 ณ 13 กพ. 57 หน่วย : ล้านไร่ เขตพื้นที่ แผนการเพาะปลูก ปี 56/57 พื้นที่ปลูกจริง ปี 56/57 นาปรัง พืชไร่-ผัก รวม ในเขตชลประทาน 2.90 0.05 2.95 5.87 (202%) (96%) 5.92 (200%) นอกเขตชลประทาน 1.84 0.30 2.14 2.83 (153%) 0.24 (79%) 3.07 (143%) 4.74 0.35 5.09 8.70 (183%) 0.29 (81%) 8.99 (176%)

การติดตามสถานการณ์การเพาะปลูก การดำเนินงาน การติดตามสถานการณ์การเพาะปลูก 1. ประสานความร่วมมือกับ Gistda ขอใช้ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และจัดทำ web page ระบบติดตามผลฯ แสดงผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา 22 จังหวัด ปรับปรุงข้อมูล 2 สัปดาห์/ครั้ง แสดงเป็นแผนที่ และข้อมูลตัวเลขพื้นที่เพาะปลูก เพื่อติดตามสถานการณ์ 2. แจ้งจังหวัดศึกษา และใช้งานระบบติดตามผล ร่วมกับการจัดเก็บข้อมูลพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร

การป้องกันปัญหา 1.ตั้งแต่เดือน กพ. 57 กรมชลประทานจะระบายน้ำเพื่อสนับสนุนการอุปโภค บริโภค และรักษาระบบนิเวศน์เท่านั้น เพื่อเตรียมการป้องกัน ซึ่งได้แจ้งให้จังหวัดดำเนินการ ดังนี้ 1) ประชุมร่วมกับชลประทานในพื้นที่ เรื่องการบริหารจัดการน้ำ เพื่อลดความเสียหายของพืช 2) ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรงดปลูกข้าวนาปรัง ครั้งที่ 2 ที่จะเริ่มปลูกในเดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นไป 3) ติดตามสถานการณ์และรายงานให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ

2. การประชุมเชิงปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบจากภัยแล้งในเขตพื้นที่เพาะปลูกลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2556/57 วันที่ 20 กพ.57 อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธาน ผู้เข้าร่วมประชุม : รองอธิบดีฯ ฝ่ายส่งเสริมและฝึกอบรม รองอธิบดีฯ ฝ่ายวิชาการ ผอ.เขต 1,2,3 และ 9 เกษตรจังหวัด และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบฤดูแล้ง 22 จังหวัดลุ่มเจ้าพระยา และผู้อำนวยการสำนักชลประทานที่ 3,4,10,11,12,13

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรับทราบสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูก และแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. กำหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบจากภัยแล้งในเขตพื้นที่เพาะปลูกลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2556/57

การแบ่งกลุ่มอภิปราย การอภิปรายกลุ่ม : “แนวทางการดำเนินงานเพื่อลดพื้นที่การปลูกข้าวนาปรัง” โดยแบ่งผู้ร่วมประชุมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามพื้นที่ ดังนี้ กลุ่มที่ 1 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน กลุ่มที่ 2 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่งตะวันตก กลุ่มที่ 3 พื้นที่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างฝั่ง ตะวันออก

ประเด็นการอภิปราย ผลการเพาะปลูกใน 3 เดือนที่ผ่านมา - ข้อเท็จจริงที่ส่งผลให้ปลูกข้าวนาปรังเกินแผน - ประเด็นเรียนรู้กรณีที่ประสบความสำเร็จในการลดพื้นที่ เพาะปลูก ความเป็นไปได้ที่จะไม่ให้มีการปลูกข้าวนาปรังเพิ่มขึ้นในอีก 3 เดือนข้างหน้า มาตรการและแนวทางช่วยเหลือเกษตรกร เช่น การปลูกพืชอายุสั้น การส่งเสริมอาชีพจาก กสก. และ กษ. ส่งผลสัมฤทธิ์หรือไม่ ตัวช่วยที่แท้จริงคืออะไร

ประเด็นสั่งการ จังหวัดที่มีการเพาะปลูกข้าวนาปรังเกินจากแผนที่กำหนด ต้องมีเหตุผล หรือสาเหตุว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร 2. ตั้งแต่เดือน กพ. ถึง เมย. จังหวัดมีมาตรการอย่างไรในการลดผลกระทบที่จะก่อให้เกิดความเสียหายในการเพาะปลูกให้น้อยที่สุด เช่น ทำอย่างไรไม่ให้เพาะปลูกเพิ่ม หรือ ปลูกแล้วทำอย่างไรไม่ให้เสียหาย

จบการนำเสนอ