MTRD 427 Radiation rotection - RSO

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ท่าเรือแหลมฉบังก่อสร้างศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ หนังสือขอส่งงวด งาน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
เรื่อง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MTRD 427 Radiation rotection - RSO 1/19/2018 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสีภายในองค์กร “การทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ” โดย จรูญ วรวาส กลุมอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักกำกับดูแลความปลอดภัยทางรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

ทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและ สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ) (สมรรถนะเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ประกาศคณะกรรมการฯ พ.ร.บ พลังงานปรมาณู ๒๕๐๔) ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ ทบทวนแผน/ระบบ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและ ความปลอดภัยทางรังสี

ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี

หลักพื้นฐานสามประการ เพื่อการวางแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติฯ หลักการควบคุมขีดจำกัดการได้รับรังสี ไม่ให้ได้รับเกินค่าที่กำหนด หลักการลดโอกาสการได้รับรังสี ให้น้อยที่สุด หลักการมีบทบาท และหน้าที่รับผิดชอบร่วมในการป้องกันอันตรายจากรังสี ให้เกิดผลเชิงปฏิบัติจริง

MTRD 427 Radiation rotection - RSO 1/19/2018 แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนได้รับรังสี

การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี แผน/แนวปฏิบัติเพื่อการป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สำหรับ ...(ห้อง/พื้นที่/บริเวณ/สถาน เป้าหมาย)... การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี บุคลากร พื้นที่ อุปกรณ์ เครืองมือ สิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นตอนปฏิบัติ การอำนวยการ และการบริหารจัดการ การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนได้รับรังสี

แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กรณีปกติ การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานกับรังสี บุคลากร พื้นที่ อุปกรณ์ เครืองมือ สิ่งอำนวยความสะดวก ขั้นตอนปฏิบัติ การอำนวยการ และบริหารการจัดการคืออะไร กรณีฉุกเฉิน

แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี

ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี

แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี

การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมการได้รับรังสีและสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ การควบคุมมาตรฐานอย่างเพียงพอ การเฝ้าตรวจ เฝ้าระวังอย่างมีประสิทธิภาพ จัดแบ่งพื้นที่ในการปฏิบัติงาน และมีมาตรการควบคุมการเข้า-ออกพื้นที่ อย่างชัดเจน กฎระเบียบ มาตรการความปลอดภัยทางรังสี แผนงาน และขั้นตอนวิธีปฏิบัติงาน เพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงานได้รับรังสีน้อยที่สุด แผนการตรวจวัดรังสี ทั้งที่บริเวณปฏิบัติงานรังสีและบริเวณสาธารณะ โดยกำหนดระยะเวลา ที่จะดำเนินการอย่างชัดเจน

การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี ประเมินสาเหตุที่ทำให้รังสีมีผลกระทบต่อสาธารณะ ควบคุมและจำกัดรังสีสู่สาธารณะตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังอย่างมีประสิทธิภาพ แผนการตรวจวัดรังสี บริเวณสาธารณะ โดยกำหนดระยะเวลา ที่จะดำเนินการอย่างชัดเจน แผนและวิธีการการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี หากมีการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี รวมทั้งมี แผนปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉินระหว่างการขนส่งวัสดุกัมมันตรังส

การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การตรวจจับ/ส่งสัญญาน การหน่วงเวลา/ชลอ การเผชิญเหตุ/ตอบสนอง การบริหารจัดการ/ระบบ แผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางรังสีที่เหมาะสม

สาเหตุที่ทำให้เกิดสภาวะอุบัติเหตุ/ฉุกเฉินทางรังสี ประเมินค่าความเป็นอันตรายหากเกิดสภาวะอุบัติเหตุนั้นๆ เตรียมการ และวางแผนรองรับสภาวะอุบัติเหตุนั้น ฝึกซ้อมและทดสอบ แผน/เตรียมการไว้ จัดทำแผนปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีและมีเครื่องมือ อุปกรณ์ ต่างๆสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินทางรังสีอย่างเพียงพอ จัดทำแผนการฝึกซ้อมกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีเป็นประจำอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ

การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี แต่ละองค์ประกอบมีรูปแบบเอกลักษณ์การประกันคุณภาพเป็นทางการ มีรูปแบบของการประยุกต์ใช้มีความเป็นมาตรฐาน มีการติดตาม การประเมินผลคุณภาพอย่างเพียงพอ

การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม การได้รับการฝึกอบรมครบถ้วนสมบูรณ์ตามสมรรถนะของแต่ละตำแหน่งหรือหน้าที่

โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA โครงสร้างบริหารจัดการมีประสิทธิภาพเชิงปฏิบัติจริง เอกสารมอบหมายชัดเจน (อำนาจหน้าที่,ความรับผิดชอบและรายละเอียดหน้าที่) ทรัพยากรเพียงพอ มีการยืนยัน/คำมั่น/รับรอง ต่อความปลอดภัย และยึดหลัก ALARA กับพนักงานทั้งหมดเพียงพอ แผนผังสายการบังคับบัญชาด้านความปลอดภัยทางรังสีซึ่งระบุบุคคลที่เกี่ยวข้องและหน้าที่ ความรับผิดชอบ อย่างครบถ้วนและชัดเจน

ทบทวนแผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี

แผน/ระบบ/แนวปฏิบัติ การป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างการบริหารจัดการของสถาน.... ตอบรับกับความปลอดภัยทางรังสี และ ALARA การคัดเลือกบุคลากรและการฝึกอบรม การควบคุมบริเวณรังสีและการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน การควบคุมรังสีสู่สาธารณะและประชาชนไม่ให้ได้รับรังสี การรักษาความมั่นคงปลอดภัยต่อต้นกำเนิดรังสี การเตรียมแผนและความพร้อมรองรับกรณีฉุกเฉินทางรังสิ การประกันคุณภาพระบบความปลอดภัยทางรังสี

แบบตรวจประเมินแผน/แนวปฏิบัติป้องกันอันตรายจากรังสีและความปลอดภัยทางรังสี มีตามหัวข้อ/เรื่องนี้ มี = √ , ไม่มี = x ป ประเมินเพื่อปรับปรุง 5 = มากที่สุด, 4 = มาก, 3= ปานกลาง, 2= น้อย และ 1= น้อยมาก เหตุผล/หมาเหตุ อธิบายรายละเอียดเหตุผลหรือหมายเหตุประกอบ

สรุป ศักยภาพ(สมรรถนะ บทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบ) ทบทวนแผน วางกฎระเบียบ และดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย ตรวจ กำกับ และควบคุมความปลอดภัย จัดเตรียมทรัพยากร รองรับฉุกเฉิน และบริหารจัดการ

คำถาม rso@oap.go.th โทร 02-596-7600 ต่อ 2313