การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สถานการณ์ด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม. สถานการณ์การออกเทศบัญญัติ / ข้อกำหนด เทศ บัญญัติ / ข้อกำหน ด กาฬสินธุ์ (%) ขอนแก่ น (%) มหาสารคา ม (%) ร้อยเอ็ ด (%)
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
(พิจิตร พิษณุโลกและเพชรบูรณ์)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558 ประเด็นที่ 2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการกำจัดขยะ มูลฝอย การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 2/2558 สาธารณสุขจังหวัดพิจิตร

ข้อมูลทั่วไป จำนวนสถานบริการ และปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ รพ.ทั่วไป 1 แห่ง รพช. 11 แห่ง รพ.สต. 110 แห่ง รพ.เอกชน 2 แห่ง สถานพยาบาลเอกชน รับผู้ป่วยค้างคืน สถานพยาบาลเอกชน ไม่รับผู้ป่วยค้างคืน 207 แห่ง คลินิกสัตว์ 9 แห่ง ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 545 กก./วัน ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่กำจัด

การตรวจประเมินโรงพยาบาลรัฐ และวิธีกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ การตรวจประเมินโรงพยาบาลรัฐ และวิธีกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลของรัฐ 12 แห่ง ดำเนินการจ้างห้างหุ้นส่วนจำกัดไทยเอนไวรอนเม้น ในการเก็บขน มูลฝอยติดเชื้อที่ส่งกำจัดมีการควบคุมกำกับโดยเอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ ปัญหาที่พบคือการส่งเอกสารกลับจากโรงงานกำจัดไม่ครบถ้วน

วิธีการรวบรวมและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สต. รพ.สต.จัดเก็บและรวบรวมส่งกำจัดกับโรงพยาบาลประจำอำเภอ(รพท./รพช.) ปัญหาอุปสรรคการขนส่งจาก รพ.สต. มายังโรงพยาบาลยังขาดยานพาหนะขนส่งโดยเฉพาะ และไม่ได้พิมพ์ชื่อสถานบริการลงบนภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ(ถุงแดง) ทำให้การควบคุมกำกับ หรือสืบค้นที่มาได้ยาก ข้อเสนอแนะ ให้มีภาชนะปิดสนิท เช่น ถังแดงบรรจุถุงแดงก่อนนำส่ง รพ. และเขียนชื่อ รพ.สต.ให้ชัดเจน

การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อของรพ.เอกชน คลินิกเอกชน และคลินิกสัตว์ในพื้นที่ รพ.เอกชน รพ.เอกชน 2 แห่ง และสถานพยาบาลรับผู้ป่วยค้างคืน 1 แห่ง ดำเนินการจ้างบริษัทเอกชน ขนส่งไปกำจัดเช่นเดียวกับ โรงพยาบาลของรัฐ อีก 1 แห่ง ส่งรวมกับ รพท. สถานพยาบาล (ไม่รับผู้ป่วยค้างคืน) ร้อยละ 100 (จากการสำรวจ 198 แห่งจาก 207 แห่ง) ส่งรวมรพ.ของรัฐในพื้นที่ พบปัญหาไม่ได้มีการลงรายการควบคุม (ฝากไม่เป็นทางการ) คลินิกสัตว์ มี 9 แห่ง ยังไม่มีระบบที่ถูกต้อง กำจัดโดยการฝัง

การดำเนินงานเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนในพื้นที่รอบ การดำเนินกิจการเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร

โครงสร้างองค์กร 1.จังหวัดพิจิตร คณะกรรมการ 5 ฝ่าย 2.สสจ.พิจิตร คณะทำงาน 6 ด้าน (ครอบคลุมทุกระดับ) 2.1 ด้านส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล 2.2 ด้านการควบคุมป้องกันโรคและระบาดวิทยา 2.3 ด้านสุขภาพจิต 2.4 ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.5 ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพ 2.6 ด้านบูรณาการและศูนย์ข้อมูล

โครงสร้างองค์กร (ต่อ) 3.การจัดบริการ 10 En-occ Clinic รพ.สต.ในพื้นที่รอบเหมือง 20 En-occ Center รพ.ทับคล้อ 30 En-occ Unit รพ.พิจิตร

3.คืนข้อมูลผลการตรวจเด็ก ผลการดำเนินงาน 1.ตรวจสุขภาพประชาชน 319 คน 2.ให้สุขศึกษาประชาชน 3.คืนข้อมูลผลการตรวจเด็ก 4.เยี่ยมผู้ป่วยโดยทีมหมอครอบครัว อ.ทับคล้อทุกสัปดาห์ และโดยทีมสหวิชาชีพทุกระดับ เดือนละ 1 ครั้ง 5.คาราวานส่งเสริมสุขภาพทุกเดือน จัดนิทรรศการโดยร่วมกับศูนย์วิชาการส่วนกลาง และหน่วยงานในอำเภอทับคล้อ ให้สุขศึกษา หน่วยแพทย์เคลื่อนที่จาก โรงพยาบาลพิจิตร คืนข้อมูล(คืนข้อมูลน้ำโดยศูนย์อนามัยที่ 8 คืนข้อมูลคนโดยแพทย์ส่วนกลางและพื้นที่)

ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 6. ร่วมกับกรมอนามัยสำรวจพฤติกรรมบริโภค 7.ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ 8 เฝ้าระวังคุณภาพน้ำ (น้ำประปา บ่อน้ำตื้น โรงงานผลิตน้ำดื่ม) 8.ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เขต 3 เก็บตัวอย่างอาหารตรวจ (ผัก ผลไม้ ข้าว และสัตว์) 9.ร่วมกับสำนักงานระบาดวิทยา เก็บข้อมูลทางระบาดวิทยา 10.พัฒนาบุคลากร (อบรมความรู้โดยวิทยากรส่วนกลาง ศึกษาดูงานแม่สอด) 11. สสจ.พิจิตร สนับสนุนงบประมาณ 7 กิจกรรม 687,050 บาท

ประปา 32 แห่ง (เป้าหมาย 100%) บ่อน้ำตื้น 193 บ่อ (เป้าหมาย 100%) จำนวนจุดเก็บตัวอย่างและผลการการเก็บตัวอย่างน้ำประปา และบ่อน้ำตื้น ประปา 32 แห่ง (เป้าหมาย 100%) บ่อน้ำตื้น 193 บ่อ (เป้าหมาย 100%) ผลการเก็บ ได้รับผลการตรวจ 30 แห่ง ได้รับผลการตรวจ 4 แห่ง โลหะหนัก (เหล็ก,แมงกานีส) แบคทีเรีย โลหะหนัก (แมงกานีส) 31 (96.88%) 5 (16.13%) 21 (67.74%) 27 (13.99%) 1 (25%) 4 (100%) หมายเหตุ - อยู่รอผลการตรวจ 1 แห่ง (หมู่ 8) เนื่องจากเป็นประปาที่เปิดใหม่ - ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้เนื่องจากไม่มีน้ำ (หมู่ 6 ) - อยู่ระหว่างรอผล 23 แห่ง - เหลือเก็บผลอีก 166 แห่ง กรมอนามัย อยู่ระหว่างทบทวนเป้าหมายใหม่เนื่องจากบางบ่อไม่มีน้ำ, บางบ่อไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว ศูนย์อนามัยที่ 8 และ 9 /กรมทรัพยากรน้ำ - ให้คำแนะนำเบื้องต้น แก่ผู้ดูแลประปาเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 - แจ้งผลการตรวจตัวอย่างน้ำให้ประชาชนในคาราวานส่งเสริมสุขภาพ 24 มิถุนายน 2558 - กำหนดแผนที่จะอบรมผู้ดูแลประปา ในวันที่ 14-15 กรกฎาคม 2558

จำนวนจุดเก็บตัวอย่างและผลการการเก็บตัวอย่างโรงงานผลิตน้ำดื่ม และน้ำบรรจุขวด โรงผลิตน้ำดื่ม 4 (แห่ง) น้ำบรรจุขวด 12 (หลังคาเรือน) ผลการเก็บ ได้รับผลการตรวจ 4 แห่ง ได้รับผลการตรวจ - แห่ง โลหะหนัก (เหล็ก,แมงกานีส) แบคทีเรีย 4 (100%) ไม่พบ 1 (25%) - จะดำเนินการเก็บในช่วงสิงหาคม 2558

การเฝ้าระวังการปนเปื้อนห่วงโซ่อาหาร 1. สำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ใน 9 หมู่บ้าน (ม.2,3,4,5,6,7,8,10และ12) สัมภาษณ์ จำนวน 321 ครัวเรือน รายการ พฤติกรรมบริโภค แหล่งที่มา กลุ่มข้าว/อาหารประเภทแป้ง ปรุงสุก ร้านค้า ตลาดในหมู่บ้านและใกล้หมู่บ้าน หามาบริโภค ปลูกเอง เนื้อสัตว์ (ปลา หอยขม และหนูนา) ผัก/ผลไม้ 2. เก็บตัวอย่างอาหารจากการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน (ใน 9 หมู่บ้านที่สำรวจ) อยู่ระหว่างการแปรผลจากศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ เขต 3

ประชากร 7,559 คน ตรวจ 480 คน เสี่ยง 242 คน ป่วย 14 คน ผลการตรวจหาสารโลหะหนักในเลือด จาก ปชช.ในหมู่บ้านรอบเหมือง ม.1 ม.5 ม.6 ม.12 ม.2 ม.8 ม.4 ม.7 ม.9 ม.3 ม.13 ม.11 พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ม.10 ประชากร 7,559 คน ตรวจ 480 คน เสี่ยง 242 คน ป่วย 14 คน โดยสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (ส.ค.-ต.ค. 2557) จำนวน 732 คน พบผู้ที่มีโลหะเกิน 402 คน คิดเป็นร้อยละ 54.92 โดยเป็นประชาชนในจังหวัดพิจิตร จำนวน 373 ราย พบผู้ที่มีโลหะเกิน 213 คน คิดเป็นร้อยละ 57.10 โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ก.พ.-มี.ค. 2558) จำนวน 319 คน พบผู้ที่มีโลหะเกิน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18

แผนการดำเนินงาน ระยะสั้น 2558 1.จัดทำแผนออกเยี่ยมบ้าน และแผนตรวจสุขภาพ โดยทีมหมอครอบครัวสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โดยทีมสหวิชาชีพพร้อมจัดคาราวานสุขภาพ เดือนละ 1 ครั้ง 2.คืนข้อมูล ด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม 3. จัดทำระบบ GIS เฝ้าระวังให้กับชุมชน 4. นำผลการแก้ไขปัญหาเหมืองทอง เข้าอนุกรรมการสาธารณสุข

แผนการดำเนินงาน ระยะกลาง และระยะยาว ระยะกลาง 2559 - 2562 1. พัฒนาบุคลากรสาธารณสุข ทุกระดับด้านอาชีวเวชศาสตร์ และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2. ดำเนินการตรวจคัดกรองให้กับประชาชนกลุ่มดี และกลุ่มเสี่ยง บริเวณพื้นที่รอบ ๆ เหมือง ระยะยาว 2563 - 2572 ดำเนินการเฝ้าระวังด้านสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนกลุ่มดี และกลุ่มเสี่ยง บริเวณพื้นที่รอบ ๆ เหมือง

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (กลุ่มดี/กลุ่มเสี่ยง) แผนระยะสั้น 1 ปี (2558) แผนระยะกลาง 4 ปี (2559-2562) แผนระยะยาว 10 ปี (2563-2572) Health Literacy Screening ยุทธศาสตร์ที่ 2 ระบบบริการและการส่งต่อ (10,20,30) OP และ IP (กลุ่มป่วย) 10 En-occ Clinic 20 En-occ Center 30 En-occ Unit ยุทธศาสตร์ที่ 3 ธรรมาภิบาล GG (การบริหารจัดการ) จัดทำระบบข้อมูล GIS การเฝ้าระวัง พัฒนาบุคลากร งบประมาณ ศูนย์ประสานงาน

สวัสดี ตรวจราชการรอบปกติ 2/2558