การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ “การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง” PCTอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี การชี้บ่งความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแบ่งบันแลกเปลี่ยนความรู้ การเรียนรู้
1. การชี้บ่งความรู้: กิจกรรม: ประชุมเชิงปฏิบัติการและทบทวนองค์ความรู้ 8 ประเด็น ความรู้ที่มีแล้ว มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย HIV/AIDS การจัดการแบบ Disease Management การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยด้วย Chronic care model การวัดและประเมินผลการพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ด้วย HIVQUAL-T ความรู้ที่ยังไม่มี การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาด้วยยาต้านไวรัสด้วย Lean health care การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยา โดยใช้ Trigger tool การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัส โดยใช้ Early warning signs การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อ ด้วย กระบวนการเรียนรู้เรื่องเอดส์โดยตรง การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัส เอดส์ด้วยEarly warning signs
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ตรวจสอบความรู้ที่มีอยู่ จาก บันทึกความรู้ บทเรียนในงาน ด้านเอดส์ ความรู้ที่สามารถสร้างเองได้ - มอบทีม KM รพ. สรรพสิทธิประสงค์ รวบรวบ ตรวจสอบ กิจกรรมคุณภาพ ที่เป็น Best practice Innovation ความรู้ที่ต้องการจากภายนอก - มอบทีมโรงพยาบาลชุมชน สืบค้น /หรือจัดหาความรู้จากภายนอก
3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ทีม KM ร่วมกับผู้รับผิดชอบงานเอดส์ของ สปสช. เขต 10 สคร. เขต 7 สสจ.และโรงพยาบาลสรรพสิทธิ ประสงค์ รวบรวมความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และทำฐานข้อมูล การพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง ในเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาด้วยยาต้านไวรัส การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัส การเฝ้าระวังการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDS การวัดและประเมินผลการดูแลรักษาการพัฒนาระบบบริการด้วยHIVQUAl-T จัดทำทำเนียบผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในการดูแล รักษาผู้ติดเชื้อHIV/AIDS
4. การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ จัดหาผู้เชี่ยวชาญในงานคุณภาพ เพื่อ ตรวจสอบความรู้ในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการดูแล ผู้ติดเชื้อHIV/AIDS เทียบเคียงข้อมูลกับโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน มอบหมายทีมสหสาขาที่ดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS นำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติในคลินิกยาต้านไวรัส และขยายผล วัด ประเมินผล ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จัดทำแนวทางปฏิบัติ แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ/ แพทย์ เฉพาะทางโรคติดเชื้อ ตรวจสอบ ประกาศใช้ วัดและประเมินผลการนำแนวทางปฏิบัติไปใช้ ทั้ง ด้านกระบวนการและผลลัพธ์ ทุกปี
5. การเข้าถึงความรู้ นำความรู้มาพัฒนาเข้าสู่ระบบเทคโนโลยี ทีม KM สำรวจและสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับช่องทางที่เข้าถึงได้สะดวก เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลและองค์ความรู้ ในรูปแบบเอกสารผลงานวิชาการ ลงในเว็บไซต์ งานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลและสำนักงาน ควบคุมโรคที่ 7 ในเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัส การเฝ้าระวังการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDS การวัดและประเมินผลการพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSด้วยHIVQUAL-T
6. การแบ่งบันแลกเปลี่ยนความรู้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมสหสาขาที่ ดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ทีม KM ร่วมกับทีมผู้ปฏิบัติงาน กำหนด เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDSและเป้าหมายองค์ความรู้ที่ต้องการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่ายผู้มีความรู้จากการนำความรู้สู่ การปฏิบัติในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS จัดทำเอกสาร คู่มือองค์ความรู้ที่ได้จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
7. การเรียนรู้ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา คุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS ประชาสัมพันธ์เชิญบุคลากร ทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข เครือข่ายผู้ติดเชื้อ HIV องค์กรเอกชน ชุมชน เข้าร่วมประชุม วัดผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม กิจกรรม ทีม KM ร่วมกับผู้บริหารสร้าง แรงจูงใจและกระตุ้นให้บุคลากรมี ส่วนร่วมในการระบบจัดการความรู้
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในจังหวัด ตัวชี้วัด/ปีงบประมาณ หน่วย 2554 2555 1. อัตราความพึงพอใจ ร้อยละ 83.38 92.8 2. อัตราการเข้าถึงระบบบริการและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน 100 3. อัตราการติดเชื้อโรคฉวยโอกาสในผู้ที่ได้รับยาต้านไวรัส 0.15 0.10 4. อัตราการเกิดเชื้อไวรัสดื้อยา 2.5 2.2
ภาคผนวก แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS สัญญาณเตือน(Trigger tool) ในการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านไวรัส Warning Signs : การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา ภาพกิจกรรม : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบ ครบถ้วนและต่อเนื่อง การนำChronic care model มาใช้ รายชื่อ KM Team PCT อายุรกรรม
แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS
แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS
Warning Signs : การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา น้ำหนักตัวลดลง การเจ็บป่วยที่ยังต้องมาพบแพทย์สม่ำเสมอ เช่นเดียวกัน ก่อนรับยาต้านไวรัส CD4ลดลงกว่าเดิม และหลังรับประทานยาต้าน ไวรัสไปแล้ว 6 เดือน CD4 ไม่เพิ่มขึ้น (CD4ลดลง30% : บ่งบอกถึงการรักษาที่ ล้มเหลว) ผลตรวจปริมาณเชื้อไวรัส(Virus load)หลัง รับประทานยาต้านไวรัสไปแล้ว 6 เดือนมีค่า>50 ก๊อปปี้ มีการป่วยเป็นโรคติดทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟ ฟิลิส หนองใน ขณะรับยา มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการสวมถุงยางอนามัย Drug Adherence80% ขาดนัดนานกว่า 2 เดือน หรือมาตามนัดไม่ สม่ำเสมอ มีการเปลี่ยนสูตรยาที่ไม่ใช่สูตรพื้นฐานในปีแรกที่ รับยา
สัญญาณเตือน(Trigger tool) ในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านไวรัส ID Trigger ระดับที่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระดับผิดปกติที่ต้องรายงานแพทย์ 1 Hematocrit(Hct) ความเข้มข้นของเม็ดเลือด ลดลงจากเดิม5%รายงานแพทย์ Hct<24% or Hb.<8% 2 Platelet count เกร็ดเลือด ลดลงจากเดิม>50,000cell/mm3 <50,000 cell/mm3 3 Blood urea nitrogen 20 -25 mg/dl <25 mg/dl 4 Creatinine(Cr.)ไต 1 – 1.5 mg/dl >1.5 mg/dl 5 FBSผระดับน้ำตาลในเลือด) 100 – 125 mg/dl >126 mg/dl 6 Cholesterolโคเรลโตรอล >150 – 200 mg/dl >200 mg/dl 7 LDL(ไขมันร้าย) 100 – 160 mg/dl 160 mg/dl 8 Triglyceride (ไตรกลีเซอไรย์) 200 - <500 mg/dl 500 mg/dl 9 SGOT/SGPT (ค่าตับ) สูงขึ้นมากกว่าปกติ สูงขึ้น>3เท่าของค่าปกติ 10 Blood Pressure (ค่าความดันโลหิต) ค่าSystolic + Diastolic Pressure = > 90mm/Hg ค่าSystolic Pressure >140mm/Hg ค่า Diastolic Pressure>90mm/Hg
การนำChronic care model มาใช้ การให้บริการแบบOne Stop Service การปะชุมทีมสหวิชาชีพในการวางแผนการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/AIDS การให้ความรู้ในคลินิกยาต้านไวรัสเอดส์ การจัดยาต้านไวรัสเอดส์มาไว้
การนำChronic care model มาใช้(ต่อ) การให้บริการแบบOne Stop Service โดยสถานที่ให้บริการเฉพาะกับผู้มารับบริการ ซักประวัติโดยพยาบาลประจำคลินิก รับยาต้านไวรัส กับเภสัชกร ให้สุขศึกษา ความรู้ในการดูแลตนเอง
การส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDSและครอบครัว สื่อในการสอนและการเรียนรู้เรื่องโรคและการดูแลตนเอง
KM Team PCT อายุรกรรม ลำดับ ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง 1 นพ.มนัส กนกศิลป์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล (ที่ปรึกษา) 2 นพ.วีระ มหาวนากูล ประธาน PCT อายุรกรรม (ที่ปรึกษา) 3 น.ส.สมพร เทพสุริยานนท์ หัวหน้าพยาบาล (ที่ปรึกษา) 4 น.ส.สะอาดศรี ชารีรัตน์ หัวหน้างานอายุรกรรม สาย 1 (ที่ปรึกษา) 5 น.ส.อรชร มาลาหอม หัวหน้าศูนย์คุณภาพ (ที่ปรึกษา) 6 นางธนิดา ตั้งยิ่งยง พยาบาลวิชาชำนาญการพิเศษ (หัวหน้าทีม) 7 น.ส.นิตยา ดาววงศ์ญาติ เภสัชกรชำนาญการ 8 พญ.สุวัตถิยา ศิริบูรณ์ อายุรแพทย์โรคติดเชื้อ 9 นางสุมาลัย คมใส พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10 นางสุริยงค์ บุญประเชิญ 11 นายคมกฤษ มาบำรุงพูนศิริ จพ.ธุรการ 12 นายปรมินทร์ ทองรินทร์ พนักงานผู้ช่วยการพยาบาล 13 นายศราวุฒิ ทองคูณ จิตอาสา 14 น.ส.พัชราภรณ์ บุตรวงศ์