สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ราชบุรี นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง นายวรวุฒิ เจริญเชื้อ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานสถานการณ์E-claim
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

พ.ศ. 2513 นโยบายประชากรแห่งชาติ พ.ศ. 2540 นโยบายอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ พ.ศ. 2507 โครงการวิจัยการอนามัยครอบครัว (โครงการโพธาราม) พ.ศ. 2553-2557 นโยบายและยุทธศาสตร์อนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. 2485 ก่อตั้งกระทรวงสาธารณสุข

นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ “รัฐบาลสนับสนุนและส่งเสริมการเกิดเพิ่มขึ้นด้วยความสมัครใจ เพื่อเพียงพอสำหรับทดแทนประชากร และการเกิดทุกรายมีการวางแผน มีความตั้งใจ และมีความพร้อมในทุกด้าน นำไปสู่การคลอดที่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมที่จะเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ”

โดยไม่เป็นที่ต้องการ การตั้งครรภ์ โดยไม่ตั้งใจ การยุติการตั้งครรภ์ ที่ไม่ปลอดภัย “อาชญากรรม” การเกิดมา โดยไม่เป็นที่ต้องการ โดนทิ้ง โดนทำร้าย ขาดความอบอุ่น

แหล่งข้อมูล: สถิติสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล: สถิติสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: Teenage pregnancy surveillance 2559 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

การให้การดูแลช่วยเหลือ เพศวิถีศึกษา ทักษะชีวิต รู้คุณค่าในตัวเอง ให้เกียรติสตรี Delay Sex บริการให้คำปรึกษา บริการด้านวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิด บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น Safe Sex การให้คำปรึกษาทางเลือก สำหรับวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ การเข้าถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย การดูแลในช่วงฝากครรภ์และช่วงคลอด ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม การคุมกำเนิดเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ การให้การดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์

การดำเนินการที่ผ่านมาในอดีต... ขาดการให้ความสำคัญในระดับนโยบาย ไม่มีการกำหนดเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง หน่วยงานต่างคนต่างทำ ขาดแนวทางการติดตามประเมินผลที่ชัดเจนและ ต่อเนื่อง “ขาดกลไกในการกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางในการทำงานร่วมกัน ระหว่างแต่ละกระทรวง ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม”

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559 เริ่มมีผลบังคับใช้ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

“ส่งผลให้การป้องกันและแก้ไขปัญหามีความยั่งยืน” ให้ความสำคัญในระดับนโยบาย คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กำหนดเป้าหมายระดับชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิบัติการ การออก กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ เพื่อเอื้อในการทำงาน คณะกรรมการฯ ต้องรายงานผลการ ดำเนินงานต่อคณะรัฐมนตรีทุกปี “ส่งผลให้การป้องกันและแก้ไขปัญหามีความยั่งยืน”

แผนภูมิโครงสร้างการดำเนินการ คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คณะอนุกรรมการ พัฒนากฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ และแนวทางปฏิบัติ คณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คณะอนุกรรมการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการอิสระ

กลไกการบังคับใช้

เป้าหมาย… ในปี 2569 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปี ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน ในปี 2569 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 25 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน

ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและ ทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ และมีระบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน และสถานประกอบกิจการในการเลี้ยงดูสร้างสัมพันธภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบการช่วยเหลือ การคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการบูรณาการการจัดการฐานข้อมูล งานวิจัย และการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 5

“การนำแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ” ความท้าทายในอนาคต... การขับเคลื่อนร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการให้เกิด การเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้านอย่างเป็น รูปธรรม และครอบคลุมสถานศึกษาทั้งหมด การปรับรูปแบบการให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ให้เหมาะสมกับสถานบริการแต่ ละระดับ การให้ความดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ เพื่อให้มีศักยภาพในการเลี้ยงดูบุตร และดำรงชีวิต ต่อไปได้อย่างมั่นคง การสนับสนุนทรัพยากรต่างๆที่จำเป็น อย่าง ต่อเนื่อง การสื่อสารทำความเข้าใจจากเป้าหมาย และแผน ยุทธศาสตร์ชาติ ไปสู่การนำไปปฏิบัติ ผ่านทาง อนุกรรมการระดับจังหวัด และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งหมด “การนำแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ”

YFHS มาตรฐาน แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับคุณภาพที่พึงประสงค์ ที่สถานบริการยึดเป็นแนวทางการดำเนินงาน เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและใช้บริการตามความต้องการ มาตรฐาน YFHS เป็นแนวทางสำหรับสถานบริการ ดำเนินงานจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร และใช้ในการประเมินตนเอง เพื่อพัฒนาคุณภาพ ใช้สื่อสารกับผู้เยี่ยมประเมินจากภายนอกให้สามารถวางแผนการสำรวจ และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เป็นเครื่องมือสำหรับผู้นิเทศ ระดับกรม ระดับเขต ระดับจังหวัด ในการกำกับติดตามสถานบริการ

YFHS มาตรฐาน 1 2 3 4 องค์ประกอบที่ การบริหารจัดการ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/ กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล 1 องค์ประกอบที่ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย 2 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมา 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ 3 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลากรผู้ให้บริการ 4

แหล่งข้อมูล: สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

แหล่งข้อมูล: สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุนการให้ บริการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร (ห่วงอนามัย และยาฝังคุมกำเนิด) ให้แก่ประชาชนไทยเพศหญิง ที่มี อายุต่ำกว่า 20 ปี ทุกสิทธิ ที่อยู่ในภาวะหลังคลอดหรือแท้ง หรือต้องการคุมกำเนิด โดยรับบริการได้ที่สถานบริการในเครือข่ายของ สปสช. ทั่วประเทศ เริ่มตั้งแต่ 1 พ.ค. 2557 สถานบริการจะได้รับค่าตอบแทนการให้บริการ ห่วงอนามัย ในอัตรา 800 บาทต่อราย และ ยาฝังคุมกำเนิด ในอัตรา 2,500 บาทต่อราย

แหล่งข้อมูล: จำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุ < 20 ปี - HDC กระทรวงสาธารณสุข จำนวนการให้บริการ LARCs - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แหล่งข้อมูล: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แหล่งข้อมูล: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

การขับเคลื่อนมาตรฐาน YFHS ในประเทศไทย เป้าหมายในการดำเนินการ รูปแบบการประเมินซ้ำ (Reaccredit) ผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม การสนับสนุนจากผู้บริหารโรงพยาบาล การบูรณาการเข้ากับการดำเนินงานตาม พรบ.ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

กรมอนามัย สนับสนุนบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย การเข้าถึงบริการ การยุติ การตั้งครรภ์ด้วยวิธี MVA การยุติ การตั้งครรภ์ด้วยยา การให้ บริการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร การเข้าถึงบริการ 1663 RSA

วัยรุ่นที่ประสบปัญหาการตั้งครรภ์ เลี้ยง ดูเอง คุมกำเนิดกึ่งถาวรป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ กรณีมีความรุนแรงทางเพศ เป็นคดี ตั้งครรภ์ต่อ 10-20% ยกบุตร บุญธรรม วัยรุ่นที่ประสบปัญหาการตั้งครรภ์ (สงสัยว่าจะตั้งครรภ์/ ตั้งครรภ์แล้ว) Access: บริการปรึกษาทางโทรศัพท์ P2H: พัฒนาเวปไซต์ Access: ส่งต่อตามทางเลือก ยุติการตั้งครรภ์ (80-90%) 1300, ศูนย์พึ่งได้รพ. เครือข่ายรัฐ+เอกชน .ช่วยเหลือกระบวนการยุติธรรมและเยียวยา กรมอนามัย: พัฒนาทักษะ สปสช. อุดหนุนค่าบริการ กรมอนาม้ย: พัฒนาเครือข่ายแพทย์ พยาบาล R-SA P2H: แสวงหาประสานแหล่งส่งต่อ จังหวัดบูรณาการ: ส่งต่อรับการช่วยเหลือ สสส: ประชาสัมพันธ์ 1663 เครือข่ายท้องไม่พร้อม: รับส่งต่อช่วยเหลือ เครือข่ายท้องไม่พร้อม: รับส่งต่อให้บริการ 1300 และเครือข่ายวัยรุ่น ปรึกษาเบื้องต้นส่งต่อ 1663 P2H: เครือข่ายกับจังหวัดบูรณาการ

เครือข่ายอาสา RSA คือใคร ? คือ แพทย์, พยาบาล และสหวิชาชีพจำนวนหนึ่ง ทั้งจากภาครัฐ และองค์กรพัฒนาเอกชน(NGO) ที่ได้รวมตัวกันเพื่ออาสารับส่งต่อเพื่อยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ที่ปลอดภัย ตรงตามกฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา ให้กับสตรีทุกวัยที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมและมีปัญหาสุขภาพ ด้วยหลักวิชาที่ทันสมัยและราคาไม่แพง พร้อมทั้งแนะนำการคุมกำเนิดหลังยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพสูง โดยรับส่งต่อทั้งจากพื้นที่ใกล้เคียง และจากสายปรึกษาท้องไม่พร้อม 1663 หลังได้รับบริการปรึกษาทางเลือกที่มีคุณภาพ ปัจจุบันมีแพทย์ RSA ทั้งประเทศ 117 คน

แหล่งข้อมูล: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

แหล่งข้อมูล: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

๒. โครงการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย (ต่อ) ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขอบเขตบริการ ๑. ผู้มีสิทธิ : หญิงไทยทุกกลุ่มอายุ ทุกสิทธิการรักษา ที่จำเป็นต้องยุติการตั้งครรภ์ตามเงื่อนไขของกฎหมายอาญาและ ข้อบังคับแพทยสภาโดยรับบริการได้จากหน่วยบริการที่สมัครใจให้บริการ โดยไม่รวมถึงกรณี ดังต่อไปนี้ การยุติการตั้งครรภ์จากกรณีคัดกรองพบว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติในกลุ่มอาการดาวน์และโลหิตจางธาลัสซีเมียให้เบิกจ่ายผ่านระบบบูรณาการ การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด National Perinatal Registry Portal NPRP) http//:nprp.nhso.go.th การรักษาภาวะ Blighted ovum, Molar pregnancy, Dead fetus in utero ผู้ป่วยที่มารักษาในกรณี Incomplete abortion ๒. เป็นบริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธี Medical Abortion หรือ Surgical Abortion โดยแพทย์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้ง กรณีผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน โดยไม่ต้องผ่านระบบส่งต่อ ๓. หน่วยบริการที่ให้บริการและมีสิทธิรับค่าใช้จ่าย ๑) หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ไม่รวมหน่วยบริการปฐมภูมิ) ๒) หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยร่วมบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นและการ ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

๒. โครงการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย (ต่อ) ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ เงื่อนไขและอัตราการจ่ายค่าบริการ ๑. เป็นการให้บริการตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ ๒. หน่วยบริการสามารถเบิกค่าบริการได้ ๑ คน ๑ ครั้ง ๑ รายการ ต่อ ๑ ปีงบประมาณ และต้องบันทึกการให้บริการลงใน เวชระเบียนประกอบด้วย การวินิจฉัยตาม ICD 10 และการทำหัตถการตาม ICD 9CM ที่ระบุชนิดของการบริการ ได้แก่ บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา Medabon หรือบริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธีศัลยกรรม เช่น การใช้กระบอกดูดสูญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA), การใช้เครื่องดูดสูญญากาศไฟฟ้า (Electric Vacuum Aspiration: EVA) และ พร้อมที่จะให้ตรวจสอบเวชระเบียน หาก สปสช ร้องขอ ๓. หน่วยบริการที่รับค่าบริการ ไม่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายใด ๆ จากผู้รับบริการ เพิ่มเติม ๔. หากผู้รับบริการมีผลข้างเคียงจากการรับบริการดังกล่าว หน่วยบริการต้องให้การดูแลรักษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายจาก ผู้รับบริการ ๕. อัตราค่าชดเชยบริการการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย เป็นการจ่ายเพิ่มเติมจากระบบปกติ ทั้งกรณี ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ดังนี้ ๑) บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา Medabon® จ่ายในอัตราไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาทต่อราย ๒) บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธีทางศัลยกรรม จ่ายในอัตราไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาทต่อราย

แหล่งข้อมูล: สถิติสาธารณสุข

เป้าหมายลดอัตราคลอดในวัยรุ่นให้ต่ำกว่า 25 /1,000 ภายในปี 2569 แหล่งข้อมูล: สถิติสาธารณสุข

A World Where Every Pregnancy is Wanted