หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
Advertisements

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การเขียนโครงร่างวิจัย
กำหนดการเรียนการสอน เรื่อง โครงสร้างของดอก
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัย
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนการใช้งานโปรแกรม POFF3 สำหรับศูนย์บริการสาธารณสุข.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
การสำรวจสถานบริการและพนักงานบริการ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสมมติฐาน ตัวแปร ข้อมูล.
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
Chapter 1: Introduction to Statistics
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Chapter 9: Chi-Square Test
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวางแผนกำลังการผลิต
ข้อมูล ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย มูลนิธิสุขภาพภาคใต้
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Google Scholar คืออะไร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
Introduction to Public Administration Research Method
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติ
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล

การออกแบบ วางแผน กระบวนการรวบรวมข้อมูล มีวิธีการอย่างไร

ลักษณะสำคัญของการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดีต่อการวิจัย ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยอย่างครบถ้วน ตอบสนองต่อการวิจัยตามกรอบแนวคิดการวิจัย ต้องมีการดำเนินการด้วยความระมัดระวัง

การออกแบบ วางแผน เก็บรวบรวมข้อมูล ทบทวนวัตถุประสงค์ กำหนดข้อมูลที่ต้องการ กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และสร้างเครื่องมือ กำหนดแหล่งข้อมูล

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

การเตรียมการสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลจะต้องดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ข้อมูลที่ดีผู้วิจัยจะต้องเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้อง ทราบว่าเป็นใคร

การเตรียมการสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล(ต่อ) 4. ลักษณะเฉพาะของผู้ให้ข้อมูล 5. กำหนดระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล 6. จำนวนข้อมูลที่ได้รับคืนจากการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. ตรวจสอบความเรียบร้อยของข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม ข้อมูล

ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด กำหนดแหล่งข้อมูล กำหนดกลุ่มตัวอย่าง นำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ ออกภาคสนาม

ประเภทของข้อมูล (Data) จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)

ประเภทของข้อมูล (ต่อ) จำแนกตามลักษณะของข้อมูล ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) 2.1 ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) 2.2 ข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous Data)

ประเภทของข้อมูล (ต่อ) จำแนกตามมาตรการวัด 1. มาตรการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นระดับที่ ใช้จำแนกความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยใช้ตัวเลข 2. มาตรการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) เป็นระดับที่ใช้ สำหรับจัดอันดับที่ หรือตำแหน่งของสิ่งที่ต้องการวัด

ประเภทของข้อมูล (ต่อ) 3. มาตรการวัดระดับช่วง (Interval Scale) เป็นระดับที่สามารถ กำหนดค่าตัวเลขโดยมีช่วงห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน 4. มาตรการวัดระดับอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็นระดับที่สามารถ กำหนดค่าตัวเลขให้กับสิ่งที่ต้องการวัด

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล สำมะโน (Census) การสำรวจตัวอย่าง (Sample survey) การทดลอง (Experiment) เก็บจากแหล่งข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว เช่น หนังสือ รายงานวิจัย สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น

กิจกรรม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบ และวางแผน ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทำลงในใบงานที่ 3 (10 คะแนน)