งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
ดร.สุนันทา รักพงษ์

2 (Research Process Cycle)
การกำหนดปัญหาวิจัย ทบทวนวรรณกรรม คำถามวิจัย/ วัตถุประสงค์การวิจัย นิยาม/เครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานและประเมินการวิจัย วัฎจักรการวิจัย (Research Process Cycle)

3 หลักการพื้นฐานในการออกแบบวิจัยเชิงทดลอง (MAX MIN CON)
DV IV EV MAX : Systematic Variance MIN : Error Variance CON : Extraneous Variance

4 หลักข้อ 1. Max Systematic Variance
การเพิ่มความแปรปรวนของการทดลองให้มากที่สุด วิธีการ ทำให้ความแปรปรวนของ DV (Dependent Variable) เกิดจาก IV (Independent Variable) เงื่อนไข ทำให้ตัวแปรต้นแตกต่างกันมากที่สุดหรือกำหนดวิธีการทดลองให้กับกลุ่มทดลองและควบคุมให้แตกต่างกัน ตัวอย่าง : วิธีสอน (IV) ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (DV) เพิ่มความแปรปรวนโดยใช้วิธีสอนที่แตกต่างกันมากๆ

5 ภาพวิธีการสอนต่างๆ การสอนแบบปกติ การสอนแบบฝึกปฏิบัติ

6 ชนิดของความคลาดเคลื่อน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
หลักข้อ 2. Minimized Error Variance ลดความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน ชนิดของความคลาดเคลื่อน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การแก้ไข ความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (Systematic error) มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ความบกพร่องของเครื่องมือวัด สร้างเครื่องมือวัดให้มี ความตรงและความเที่ยงสูง ความคลาดเคลื่อนอย่างสุ่ม (Random error) มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างบางส่วน ความเหนื่อย การเดาของผู้ถูกทดลอง อารมณ์ สุขภาพร่างกาย ใช้กฎการแจกแจงปกติ (Normal Distribution Law) คำนวณทางค่าสถิติ

7 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน การขจัดออกจากการศึกษาวิจัย การสุ่ม (Randomization) การนำเข้ามาทำการศึกษาวิจัย (Add to the design) การจับคู่ (Matching) การใช้วิธีการทางสถิติ (Statistical control)

8 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
วิธีที่ 1 การขจัดตัวแปรแทรกซ้อนออกจากการวิจัย ตัวอย่าง : การศึกษาอิทธิพลของวิธีสอนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีสอน ความคิดสร้างสรรค์ STEM 5E ระดับสติปัญญา ตัวแปรแทรกซ้อน ข้อจำกัด : ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่มนักเรียนที่มีระดับสติปัญญาแตกต่างกันได้

9 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
วิธีที่ 2 การนำเข้ามาทำการศึกษาวิจัย (Add to the design) ตัวอย่าง : การศึกษาอิทธิพลของวิธีสอนที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ วิธีสอน ความคิดสร้างสรรค์ ระดับสติปัญญา แบบแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียลแบบมีตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร ระดับสติปัญญา วิธีสอน STEM 5E สูง กลุ่ม 1 กลุ่ม 3 ต่ำ กลุ่ม 2 กลุ่ม 4

10 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
วิธีที่ 3 การสุ่ม (Randomization) ประชากร เลือกตัวอย่างด้วยวิธีสุ่ม ตัวอย่าง การกำหนดตัวอย่าง เข้ากลุ่มด้วยวิธีสุ่ม กลุ่มวิธีทดลองที่ 1 กลุ่มวิธีทดลองที่ 2 กลุ่มวิธีทดลองที่ n

11 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
วิธีที่ 4 การจับคู่ (Matching) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้จากการจับคู่ ตัวแปรอิสระ การสอนแบบ STEM การสอนแบบ 5E คู่ที่ 1 S1a S1b คู่ที่ 2 S2a S2b คู่ที่ 3 S3a S3b เลือกจับคู่กลุ่มตัวอย่างตามตัวแปรแทรกซ้อนที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามสูง

12 กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E
หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance ตัวอย่าง : แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ได้จากการจับคู่ (Matching) โดยใช้คะแนน I.Q. ต้องการทดสอบสมมุติฐานว่า วิธีสอนแบบ STEM จะส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าแบบ 5E การจัดกลุ่มตัวอย่าง ทำได้โดยใช้ระดับสติปัญญา (I.Q.) ที่เท่ากัน โดยวิธีสุ่ม กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E คนที่ คะแนน I.Q. 2 120 1 3 110 4 6 100 5 7 8 10 90 9 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ STEM เท่ากับ 5 คน กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ 5E เท่ากับ 5 คน

13 กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E
หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance ตัวอย่าง : แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ได้จากการจับคู่ (Matching) โดยใช้คะแนน I.Q. ต้องการทดสอบสมมุติฐานว่า วิธีสอนแบบ STEM จะส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าแบบ 5E ผลคะแนนความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E คนที่ ความคิดสร้างสรรค์ 2 65 1 60 3 50 4 55 6 5 48 7 8 46 10 45 9 40 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ STEM ผลคะแนนสูงกว่ากลุ่มที่ 2 ที่สอนแบบ 5E สูงกว่าอย่างนาเชื่อถือหรือไม่…หาคำตอบโดยใช้สถิติทดสอบ ค่าที แบบ dependent samples

14 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
วิธีที่ 5 การควบคุมด้วยวิธีทางสถิติ (Statistical control) การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (Analysis of covariance : ancova) Y X1 X2 X1 แทน ตัวแปรอิสระ (Ex. วิธีสอน) X2 แทน ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรร่วม (EX. สติปัญญา) Y แทน ตัวแปรตาม (Ex. ความคิดสร้างสรรค์) สีแดง แทน ความแปรปรวนใน Y พื้นที่ที่มีจุด แทน ความแปรปรวนส่วนที่เหลือ

15 หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance
ตัวอย่าง : ทดลองวิธีสอนแบบ STEM กับ 5E กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ เป็นตัวแปรตาม (Y) และ I.Q. เป็นตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรร่วม (X) การเตรียมตารางสำหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน กลุ่มตัวอย่างที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ 2 คะแนน I.Q. (X) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ (Y) 110 50 109 65 100 41 47 99 45 95 130 70 132 35 107 62 49

16 หลัก MAX MIN CON ความเที่ยงตรงภายใน (Internal Validity)
หลัก MAX MIN CON เป็นหลักทางสถิติ (Statiscal Principle) ที่ใช้เป็นกลไกการออกแบบการวิจัย เชิงทดลอง ทำให้แบบแผนวิจัยมีประสิทธิภาพ สามารถหาคำตอบปัญหาวิจัย ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรตามต้องการ ความเที่ยงตรงภายใน (Internal Validity) ความเที่ยงตรงภายนอก (External Validity)

17 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google