งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดเกี่ยวกับการวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดเกี่ยวกับการวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด ดร. วรรณิกา ชาญพิชญาพรวัฒน์

2 ภาวะอ้วนของบุคลากรเป็นอย่างไร
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ข้อสังสัย จะเก็บอะไร จะเก็บอะไร คำถามการวิจัย ภาวะอ้วนของบุคลากรเป็นอย่างไร ภาวะอ้วนของบุคลากร ตัวแปร น้ำหนัก/รอบเอว ข้อมูล/ค่าของตัวแปร เครื่องชั่ง/สายวัด เครื่องมือ

3 ความหมายของข้อมูล (Data)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ความหมายของข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือข้อความเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำมาเป็นหลักฐานในการหาข้อยุติเป็นคำตอบต่อสิ่งที่ผู้วิจัยศึกษา ตัวเลข ข้อมูล ปริมาณ/จำนวน/ขนาด ลักษณะ พฤติกรรม ปรากฏการณ์ ข้อความ/ภาพ/เสียง

4 จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ประเภทแหล่งข้อมูล จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แหล่งปฐมภูมิ 1 ข้อมูลหรือรายละเอียดที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมด้วยตนเองจากต้นตอหรือแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง แหล่งทุติยภูมิ 2 รายละเอียดหรือข้อเท็จจริงที่ได้มาโดยวิธีการอ้างบุคคลอื่น มาอีกทอดหนึ่ง

5 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด

6 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ความหมายของการวัด การกำหนดตำแหน่งที่หรือตัวเลขให้กับสิ่งที่ถูกวัดตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งสามารถจำแนกตามมาตรการวัดได้ 4 มาตรา ดังนี้คือ มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale) มาตราอันตรภาค (Interval Scale) มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

7 สถานภาพ อาชีพ สถานที่เกิด ศาสนา ชื่อโรค
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับของข้อมูล 1 มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นการกำหนดสัญลักษณ์ หรือตัวเลขให้กับข้อมูลเพื่อจำแนกประเภทสิ่งของ หรือคุณลักษณะต่างๆ เป็นพวกกลุ่ม ประเภท เท่านั้น ข้อมูลประเภทนี้มักจะไม่อยู่ในรูปตัวเลข สถานภาพ อาชีพ สถานที่เกิด ศาสนา ชื่อโรค หากข้อมูลอยู่ในรูปตัวเลขก็จะเป็นตัวเลขที่ ไม่มีความหมายในเชิงปริมาณ

8 ระดับของข้อมูล 2 มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับของข้อมูล 2 มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale) เป็นมาตรการวัดที่มีความละเอียด มีคุณสมบัติ การจำแนกข้อมูลออกเป็นประเภทต่างๆ และสามารถเรียงลำดับข้อมูลลักษณะ มาก-น้อย ระดับความคิดเห็น (เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย เฉยๆ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง) นางงามที่ชนะการประกวด (อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 และอันดับที่ 3)

9 3 ระดับของข้อมูล มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับของข้อมูล 3 มาตราอันตรภาค (Interval Scale) มาตรการวัดที่มีความละเอียดสูง มีคุณสมบัติการจำแนกและเรียงลำดับสิ่งต่าง ๆ สามารถบอกปริมาณความต่างได้และมีศูนย์ไม่แท้ (Arbitrary Zero or Relative Zero) อุณหภูมิน้ำ (60C , 80C) คะแนน I,Q (90 , 120) คะแนนสอบ (0 , 30 , 60)

10 ระดับของข้อมูล 4 มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับของข้อมูล 4 มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็นมาตรการวัดที่มีความละเอียดที่สุด มีคุณสมบัติการจำแนกและเรียงลำดับสิ่งต่าง สามารถบอกปริมาณความต่างได้และมีศูนย์แท้ (Absolute Zero) หรือ ศูนย์สมบูรณ์ (Absolute Zero Point) ข้อมูลที่ได้จากการวัดในระดับนี้จึงสามารถนำมาคำนวณทางคณิตศาสตร์ น้ำหนัก ส่วนสูง อายุ ระยะทาง เวลา

11 ระดับของการวัด อัตราส่วน อัตรภาคชั้น เรียงลำดับ นามบัญญัติ ศูนย์แท้
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับของการวัด ศูนย์แท้ Ratio Scale อัตราส่วน ศูนย์ไม่แท้ Interval Scale อัตรภาคชั้น Ordinal Scale เรียงลำดับ นามบัญญัติ Nominal Scale

12 สรุปคุณสมบัติของแต่ละมาตรา
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ สรุปคุณสมบัติของแต่ละมาตรา มาตรการวัด คุณสมบัติ นามบัญญัติ เรียงลำดับ อันตรภาค อัตราส่วน แบ่งกลุ่ม แบ่งกลุ่ม เรียงลำดับได้ แบ่งกลุ่ม เรียงลำดับได้ บอกปริมาณความต่าง ศูนย์สมมุติ แบ่งกลุ่ม เรียงลำดับได้ บอกปริมาณความต่าง ศูนย์แท้

13 สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน………
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ทดสอบ สำเร็จการศึกษาจากสถาบัน……… มาตราอัตราส่วน อายุ 21 ปี มาตราอันตรภาค วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษา  ปริญญาตรี  สูงกว่าปริญญาตรี มาตราเรียงลำดับ มาตรานามบัญญัติ คะแนน 72 คะแนน

14 คุณสมบัติที่ดีของข้อมูลที่ได้จากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ คุณสมบัติที่ดีของข้อมูลที่ได้จากการวัด ความถูกต้องแม่นยำ (accuracy) แหล่งของข้อมูลเชื่อถือได้ 1 2 ความทันเวลา (timeliness)ทันต่อเหตุการณ์  3 ความสมบูรณ์ครบถ้วน (completeness)ให้ข้อเท็จจริง 4 ข้อมูลครอบคลุมทุกด้านที่ศึกษา 5 เป็นข้อมูลที่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษา

15 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ประเภทของเครื่องมือ

16 ประเภทของเครื่องมือวิจัยที่นิยมใช้
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ประเภทของเครื่องมือวิจัยที่นิยมใช้ 1 แบบสังเกต (Observation) 2 แบบสัมภาษณ์ (Interview) 3 แบบสอบถาม (Questionnaire) 4 แบบวัดเจตคติ (Attitude Scale) แบบทดสอบ (Test) 5

17 การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง การสังเกตแบบมีโครงสร้าง
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แบบสังเกต (observation) เครื่องมือใช้เก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้สังเกตเป็นผู้บันทึก สิ่งที่เกิดขึ้นจากการเห็นหรือได้ยินในสถานการณ์จริง การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง การสังเกตแบบมีโครงสร้าง การสังเกตที่ผู้สังเกตไม่ได้ กำหนดประเด็นเฉพาะแต่จะ สังเกตทุกๆอย่างที่เกี่ยวข้อง การสังเกตที่ผู้สังเกตได้ กำหนดประเด็นไว้แล้วว่าจะ สังเกตอะไรโดยไม่ให้ผู้ถูก สังเกตรู้ตัว

18 รูปแบบของแบบสังเกต แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ รูปแบบของแบบสังเกต แบบมาตรประมาณค่า (5) (4) (3) (2) (1) พนักงานนำเสนอ พนักงานนำเสนอ คล่องแคล่วมาก ไม่คล่องแคล่ว แบบตรวจสอบรายการ คำชี้แจง โปรดเขียนวงกลมล้อมรอบคำว่า ใช่ หรือ ไม่ใช่ เพื่อระบุว่าผู้บริหารองค์กรมีภาวะผู้นำหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 1. มีการกำหนดกลยุทธ์ในการทำงาน

19 การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ การสัมภาษณ์ (Interview) การสนทนาซักถามอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การสัมภาษณ์ที่ไม่มีการกำหนด คำถามที่แน่นอนตายตัวสามารถ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ การสัมภาษณ์ที่มีการกำหนด ข้อคำถามไว้ล่วงหน้าไม่สามารถ ดัดแปลงคำถามได้ โดยคำถาม ส่วนใหญ่เป็นปลายเปิด

20 แบบสอบถาม (Questionnaires)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แบบสอบถาม (Questionnaires) เครื่องมือที่เหมาะสมกับการรวบรวมข้อมูลการวิจัยเชิงสำรวจ กรณีตัวอย่างหรือประชากรมีลักษณะที่กระจัดกระจายกันมาก รวมทั้งมีงบประมาณและเวลาในการวิจัยจำกัด 1 แบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open ended questionnaires) รูปแบบของคำถามในลักษณะที่ถามอย่างกว้างๆ เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้ตอบอย่างเสรีตามความพอใจ แนวโน้มธุรกิจออนไลน์จะเติบโตไปในทิศทางใด ตัวอย่าง

21 แบบสอบถาม (Questionnaires)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แบบสอบถาม (Questionnaires) 2 แบบสอบถามแบบปลายปิด (Close ended questionnaire) รูปแบบคำถามที่มีจุดมุ่งหมายแน่นอนและจัดเตรียมคำตอบไว้ล่วงหน้าแล้ว ผู้ตอบเพียงเลือกคำตอบจากคำตอบที่กำหนดให้ ถ้ารัฐบาลมีนโยบายที่จะตรึงราคาน้ำมันดีเซล ท่านเห็นด้วยหรือไม่  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย  ไม่แน่ใจ ตัวอย่าง

22 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แบบทดสอบ (Test) เครื่องมือวัดความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ สติปัญญา หรือความถนัดของผู้เข้าทดสอบ และให้ผลเป็นตัวเลข จำแนกเป็น 3 ประเภท 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2 แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพ (personality test) 3 แบบทดสอบวัดความถนัด (aptitude test)

23 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ การสร้างเครื่องมือในการวิจัย กำหนดสิ่งที่ต้องการจะวัด นิยามสิ่งที่ต้องการวัด เลือกประเภทของเครื่องมือ สร้างเครื่องมือ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ปรับปรุงคุณภาพ

24 การเลือกประเภทของเครื่องมือ
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ การเลือกประเภทของเครื่องมือ 1 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 2 ข้อมูลที่ต้องการและวิธีการเก็บรวบรวม   3 ลักษณะของผู้ตอบ 4 งบประมาณ ระยะเวลา สถานที่

25 ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร วิธีการ และเครื่องมือ
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร วิธีการ และเครื่องมือ ข้อมูล วิธีการ เครื่องมือ ความรู้สึก ความเชื่อ ความสนใจ เจตคติ บุคลิกภาพ การวัดความรู้สึก ความเชื่อ การสำรวจความสนใจ การวัดเจตคติ การวัดบุคลิกภาพ แบบวัดทางจิตวิทยา แบบสำรวจความสนใจ แบบวัดเจตคติ แบบวัดบุคลิกภาพ ด้านพฤติกรรม การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์ แบบสังเกต/แบบบันทึกพฤติกรรม/แบบตรวจสอบรายการ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์

26 สรุป 1 2 3 เครื่องมือวิจัย คือ สิ่งที่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ สรุป 1 เครื่องมือวิจัย คือ สิ่งที่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ของตัวแปรการวิจัย หรือสิ่งที่ใช้สำหรับวัดค่าของ ตัวแปรการวิจัย 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับ ตัวแปรการวิจัยและข้อมูลหรือค่าของแต่ละตัวแปร 3 ตัวแปรเดียวกัน สามารถเลือกใช้เครื่องมือวิจัยได้หลายประเภท

27 ปัจจัยที่มีผล ต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยที่มีผล ต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด

28 ความคลาดเคลื่อนจากการวัด (Measurement Error)
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ความคลาดเคลื่อนจากการวัด (Measurement Error) การวัดค่าตัวแปรในงานวิจัยย่อมมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นได้เสมอ ซึ่งเรียกว่าความคลาดเคลื่อนจากการวัด (Measurement Error) ค่าที่วัดได้จึงไม่ใช่ค่า คะแนนจริง (True Score) แต่เป็นค่าที่มีความคลาดเคลื่อน (Error Score) รวมอยู่ด้วย ดังนั้น ค่าที่สังเกตได้หรือวัดได้ (Observe Score) จึงเป็นค่าคะแนนจริง (True Score) รวม กับค่าความคลาดเคลื่อน (Error Score)

29 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ สมการ เมื่อ O คือ ค่าที่ได้จากการสังเกตหรือวัดได้ (Observe Score) T คือ ค่าคะแนนจริงของสิ่งที่วัด (True Score) E คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการวัด (Error Score) จากสมการจะเห็นว่า หากค่าความคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดจาก การวัดยิ่งลดน้อยลง เท่าใด ค่าที่ได้จากการวัด จะใกล้เคียงกับค่า คะแนนจริงมากขึ้นเท่านั้น O = T + E

30 ประเภทของความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ประเภทของความคลาดเคลื่อนจากการวัด ความคลาดเคลื่อนจากการวัด มี 2 ประเภท ดังนี้ 1) ความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (Random Error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ ไม่คงที่ ทำให้ค่าที่วัดได้แต่ละครั้งคลาดเคลื่อนจากค่าที่เป็นจริงหรือค่าคะแนนจริง 2) ความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (Systematic Error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ คงที่สม่ำเสมอ อาจคลาดเคลื่อนในลักษณะค่ามากกว่าค่าที่เป็นจริงทุกครั้งที่วัดหรือค่าน้อยกว่าค่าที่เป็นจริงทุกครั้งที่วัด

31 ปัจจัยส่งผลต่อความคลาดเคลื่อนในการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยส่งผลต่อความคลาดเคลื่อนในการวัด เครื่องมือวัด ข้อมูล วิธีการวัด ถูกต้อง คลาดเคลื่อน ผู้ทำการวัด สภาพแวดล้อม

32 ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด เครื่องมือวิจัย (Instrument) ความคลุมเครือ (Ambiguous) แบบสอบถามขาด ความชัดเจน ไม่กระจ่าง หรือมีความ คลุมเครือ กลุ่มตัวอย่างอ่านแล้วไม่เข้าใจความหมายของคำ ชี้แจง เครื่องมือขาดคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพในด้าน ความตรง (Validity) และความเที่ยง (Reliability)

33 ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด การใช้เครื่องมือ (Instrument Administration) ผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัยรวบรวมข้อมูลในสภาวะที่ตนเองไม่พร้อมทำการรวบรวมข้อมูล เช่น อยู่ในสภาวะเมื่อยล้า เหนื่อยหน่าย ต้องการพักผ่อน คณะผู้วิจัยแต่ละบุคคล ทำการสังเกตหรือสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างไม่ตรงกับมติที่ศึกษา หรือแปลความหมายของ พฤติกรรมและคำพูดของกลุ่มตัวอย่างได้ไม่ตรงกัน ซึ่งมีผลให้ข้อมูลที่บันทึกได้คลาดเคลื่อน จากความเป็นจริง

34 ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด ปัญหาทักษะการใช้เครื่องมือ (Skill Problems) ในกรณีที่เครื่องมือซึ่งนำมารวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนและเทคนิคในการใช้ที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน จำเป็นต้องอาศัยทักษะและความชำนาญในการใช้เครื่องมือ หากผู้วิจัยขาดทักษะในการใช้เครื่องมือ ย่อมมีผลทำให้ข้อมูลที่บันทึกได้หรือค่าตัวแปรที่วัดได้มีความคลาดเคลื่อน

35 ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ ปัจจัยของความคลาดเคลื่อนจากการวัด การใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมกับตัวแปรที่วัด (Inappropriate Method) การใช้เครื่องมือหรือวิธีการรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหมาะสมกับ ตัวแปรที่ศึกษา จะทำให้ค่าตัวแปรที่วิเคราะห์ได้คลาดเคลื่อน จากค่าที่เป็นจริง เช่น การวัดความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อ โดยให้กลุ่มตัวอย่างรายงานตนเอง (Self Report) ค่าที่ได้ย่อมไม่ตรงกับค่าที่ได้ โดยใช้เครื่องมือวัดทางสรีรวิทยา

36 วิธีลดความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ วิธีลดความคลาดเคลื่อนจากการวัด การลดความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม เพิ่มจำนวนขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เลือกวิธีการวัดที่มีความแปรปรวนน้อยเพื่อให้การวัดมีความแม่นยำสูง ใช้สถิติเชิงอนุมานเพื่อประมาณโอกาสในการเกิดความคลาดเคลื่อนว่ามีมากหรือน้อย

37 วิธีลดความคลาดเคลื่อนจากการวัด
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ วิธีลดความคลาดเคลื่อนจากการวัด การลดความคลาดเคลื่อนแบบเป็นระบบ ผู้วิจัยจะต้องให้ความสำคัญต่อการป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อน ออกแบบการวิจัยให้เหมาะสม ดำเนินงานให้ถูกต้องตามแบบแผนงานวิจัย พิจารณาแก้ไขความคลาดเคลื่อนด้วยการใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติอย่างเหมาะสม

38 แนวคิดเกี่ยวกับการวัด ประเภทของเครื่องมือและปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนจากการวัด นักวิจัยรุ่นใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและเครื่องมือในการวิจัย นักวิจัยรุ่นใหม่ ขอบคุณมากคะ!


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดเกี่ยวกับการวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google