“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.” โดย นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันอังคารที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์ กทม.
การขับเคลื่อนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมผ่านกลไก คสจ. และ พชอ คสจ. พชอ. แนวทางการขับเคลื่อน พชอ. ใช้ คสจ.เป็นโครงสร้างหลักในการเชื่อมต่อลง พชอ ผ่านประธาน คสจ.(ผู้ว่าราชการจังหวัด) และจำลองกลไก พชอ.เสมือนหนึ่ง อสธอ.(อนุกรรมสาธารณสุขอำเภอ) ฐานคิดขอบเขตงาน อวล.และ พรบ.สธ.เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาคุณภาพชีวิต นำร่องด้วยการใช้ พรบ.สธ. เป็นเครื่องนำร่องสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบของคณะกรรมการ พชอ. และ อสธอ. ผู้แทนกำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน ผอ.รพ. พัฒนาการอำเภอ ผอ.สถานศึกษา ผู้ประกอบวิชาชีพด้าน การแพทย์ฯ ผู้ประกอบวิชาชีพอื่น สถานกิจการด้านสุขภาพฯ สถานศึกษาเอกชน สถานประกอบกิจการอื่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น เอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร เครือข่ายหรือองค์กรอื่น นายอำเภอ ปลัดอำเภอ ผู้แทนอปท. ตัวแทนผู้นำทางศาสนา อสม. เครือข่ายองค์กรผู้บริโภค เครือข่ายหรือองค์กรสื่อสาร มวลชน สาธารณสุขอำเภอ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ เกษตรอำเภอ ปศุสัตว์อำเภอ ศึกษาธิการอำเภอ ผู้กำกับฯ อำเภอ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสาธารณสุขฯ ผู้แทนภาคประชาชน
คสจ.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอำเภอ (อสธอ.) ทุกอำเภอ ข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานสำหรับ คสจ. จุดอ่อน คสจ.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอำเภอ (อสธอ.) เฉพาะอำเภอที่มีความจำเป็น/ความพร้อม ของพื้นที่ คสจ.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารและขับเคลื่อนการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข คสจ.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอำเภอ (อสธอ.) ทุกอำเภอ จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง -มีการบูรณาการทรัพยากรร่วมกัน -ปปช.ได้รับการคุ้มครองอย่างทั่วถึง -ภาระงานในการจัดประชุมมาก -งบประมาณใช้มาก -ต้องพัฒนาทักษะ -มีการบูรณาการทรัพยากรร่วมกัน -มีความยืดหยุ่นในการทำงาน -มีภาระงานในการจัดประชุมมาก -ปชช.บางพื้นที่ไม่ได้รับการคุ้มครองเท่าที่ควร จุดแข็ง จุดอ่อน -มีภาระงานในการจัดประชุมน้อย -โอกาสเสริมพลัง -คสจ.สามารถติดตามได้ครอบคลุม -ต้องพัฒนาทักษะและประสบการณ์ในการเสนอประเด็นงานให้สสอ.
แนวทางพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ. กรมอนามัย จัดทำหลักสูตรที่จำเป็นต่อการพัฒนางานฯ ได้แก่ หลักสูตรอบรมด้านวิชาการ/กฎ ระเบียบ พ.ร.บ. เช่น - การจัดการเหตุรำคาญ - การตรวจแนะนำกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ - การป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายจากมูลฝอยติดเชื้อ - การจัดการสิ่งปฏิกูลสำหรับผู้ปฏิบัติงานสูบ ขนสิ่งปฏิกูล และผู้ปฏิบัติงานกำจัด สิ่งปฏิกูล - การจัดการมูลฝอยทั่วไป หลักสูตรอบรมด้านการบริหารจัดการ เช่น - แนวคิดและมุมมองการคิดวิเคราะห์งานอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาภาคี เครือข่าย