มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
Educational Policies.
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
แนวการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ บรรยายในโครงการสัมมนาพัฒนาหลักสูตรคณะศึกษาศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์
ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา. ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา.
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
เพศศึกษา ในศตวรรษที่ 21.
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
ประถม เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ด้วยสื่อ นวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อดึงความสามารถทางการเรียนแต่ละด้าน ตามแนวทางพหุปัญญา โดยกระบวนการ Balanced.
เรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ เพิ่มพูนทักษะ จน เป็นความ รู้ฝัง แน่นในตนเอง พร้อมที่จะต่อ ยอด สู่ระดับ ประถมศึกษาได้ อย่างมั่นคง.
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
Active Learning ผศ. ดร. เยาวเรศ ภักดีจิตร ภาควิชาหลักสูตร และการสอน.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Project based Learning
Dr. Montri Chulavatnatol
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
ความหมายของการสื่อสาร
กฎหมายการศึกษาไทย.
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
Big Picture ความสำคัญและที่มา ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
PRE 103 Production Technology
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โครงการ Dr.Chusak Prasert.
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่

ครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 มีทักษะหลากหลาย มีความสามารถหลากหลาย ให้ความร่วมมือกับเพื่อนร่วมวิชาชีพและครอบครัว ให้ความสำคัญกับคุณค่าความหลากหลาย รักการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง/ทันสมัย

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ความรู้ในวิชาหลัก ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี

ภาพการศึกษาปฐมวัยที่น่าสนใจ ปัญหา สาเหตุของปัญหา เด็กมีค่าเฉลี่ยไอคิวต่ำกว่าสากล เด็กขาด M.Q. (Moral Quotient) และ A.Q. (Adversity Quotient) เด็กขาดทักษะในการดำรงชีวิต -ความเชื่อและค่านิยมที่ผิดของผู้ปกครอง (คนที่รู้มากคือคนเก่ง/อนาคตดี) -เน้นการเรียนการสอนวิชาการ -ปิดกั้นการพัฒนาสมองของเด็กตามวัยที่เหมาะสม ที่มา: มนฑกานติ์ รอดคล้าย จาก (Child and Family Development in the 21st Century

การเรียนรู้สู่การศึกษาปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 แนวคิด ลักษณะสำคัญ 1. STEM Education เป็นจัดการศึกษาแบบบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) คณิตศาสตร์ (Mathematic) โดยนำลักษณะธรรมชาติสาระวิชามาผสมผสานและจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เน้นนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการผลิต หรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและทำงาน

แนวคิด ลักษณะสำคัญ 2. การเรียนรู้ภาษาอย่างธรรมชาติแบบองค์รวม (Whole Language) การฝึกสร้างความสามารถทางภาษาฟัง พูด อ่าน เขียนอย่างเชื่อมโยงสัมพันธ์ไม่แยกออกจากกัน องค์ประกอบของการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมในรูปแบบของการสอนภาษาธรรมชาติ กระบวนการเรียนรู้แบบธรรมชาติตามวัยวุฒิของเด็ก จัดการเรียนการสอนของครู

แนวคิด ลักษณะสำคัญ 3. การเรียนรู้ตามแนวคิดวอลดอร์ฟ (Waldorf) เชื่อมั่นคุณค่าอันลึกล้ำที่สุดและเป็นสากลที่สุดของมนุษย์ จะขึ้นได้ เมื่อการศึกษานำความสมดุลระหว่างความสามารถในการคิด รู้สึกและพลังเจตจำนงค์ ซึ่งคัดมาในตัวเด็กแต่ละคน จัดกิจกรรมหลักและกิจกรรมพื้นฐานคำนึงถึงความสมดุลระหว่างกิจกรรมกลุ่มกับกิจกรรมอิสระและความสมดุลระหว่างกิจกรรมที่ต้องการความสงบกับกิจกรรม

แนวคิด ลักษณะสำคัญ ที่สร้างความสนุกสนานเพื่อให้เด็กพัฒนาที่สมดุลในทุกด้าน องค์ประกอบการจัดกิจกรรม การเลียนแบบ (Imitation) จินตนาการ (Imagination) แรงบันดาลใจ (Inspiration)

4. การเรียนรู้ตามแนวคิดมอนเตสซอรี (Montessori) ลักษณะสำคัญ 4. การเรียนรู้ตามแนวคิดมอนเตสซอรี (Montessori) พัฒนาการเรียนรู้ในการทำงานด้วยตนเอง และความรู้สึกถึงความรับผิดชอบ มีวิธีการที่ควบคุมตนเองให้ทำงานได้สำเร็จ เรียนรู้ในการรับผิดชอบต่อตนเองและสภาพการณ์ต่างๆ ที่ช่วยให้ค้นพบ 5. การเรียนรู้ตามแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลีย (Reggio Emilia) จัดสภาพการเรียนรู้ที่สนองต่อความอยากรู้ และแรงจูงใจภายในของเด็ก

แนวคิด ลักษณะสำคัญ ในการเรียนรู้ภายใต้การจัดสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมทั้งเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน การเรียนรู้อย่างลุ่มลึกจากโครงงาน (Projects) เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่โดดเด่นในโรงเรียนตามแนวคิดเรกจิโอ

แนวคิด ลักษณะสำคัญ 6. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนและความสำคัญของความรู้เดิม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้ด้วยตนเองและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ฝึกปฏิบัติจริงค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มเป็นพื้นฐานการดำรงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข

แนวคิด ลักษณะสำคัญ 7. การจัดการเรียนรู้ตามวิถีชีวิตไทย แนวคิดและทฤษฎีที่มีอิทธิพล แนวคิดหลักการของไทย 1) แนวคิดพระพุทธศาสนา 2) แนวคิดวัฒนธรรมไทย 3) ปัญหา ความต้องการเด็กไทย แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสังคม

8. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Base Leaning) แนวคิด ลักษณะสำคัญ 8. การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Base Leaning) มุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งจากความสนใจอยากรู้อยากเรียนของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการ และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนค้นหาคำตอบด้วยตนเอง แต่ผู้สอนจะสนับสนานให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ และปรับปรุงความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์

แนวคิด ลักษณะสำคัญ - เรียนรู้ทักษะองค์ประกอบย่อยของเรื่องนั้น 9. การเรียนรู้แบบรู้จริง/รอบรู้ (Mastery Learning) - ผู้เรียนสามารถใช้เวลาเท่าที่ต้องการในการเข้าถึงแก่นแท้ของบทเรียน แล้วได้รับข้อมูลย้อนกลับที่แสดงถึงจุดบกพร่องและคำแนะนำในการปรับปรุง - เรียนรู้ทักษะองค์ประกอบย่อยของเรื่องนั้น - เรียนรู้วิธีบูรณาการทักษะองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน - เรียนรู้ที่จะประยุกต์ใช้ทักษะให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

แนวคิด ลักษณะสำคัญ 10. การเรียนรู้แบบสอนให้น้อยเรียนรู้ให้มาก (Teach Less, Learn More) -เป้าหมายสัมผัสหัวใจและให้กำลังใจ เตรียมผู้เรียนสำหรับใช้ชีวิต -เน้นการมีปฎิสัมพันธ์ในชั้นเรียน โอกาสแสดงออกทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างลักษณะผ่านนวัตกรรมการสอน และกลยุทธ์วิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ

หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction) สอนเน้นเชิงสหวิทยาการของวิชาแกนหลัก ประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหาและสร้างระบบการเรียนรู้ที่เน้นสมรรถนะเป็นฐาน สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน บูรณาการแหล่งเรียนรู้ สร้างสรรค์แนวปฏิบัติการเรียน และสภาพแวดล้อมกายภาพเกื้อหนุน

มาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) เน้นทักษะ ความรู้ และความเชี่ยวชาญเกิดกับผู้เรียน (Project – Based Learning, Problem Based Learning) บูรณาการความซ้ำซ้อนสาระเนื้อหา สร้างความรู้ และเข้าใจเชิงลึกมากกว่าการสร้างความรู้แบบผิวเผิน ยกระดับความสามารถผู้เรียนด้วยการให้ข้อมูลที่เป็นจริง ใช้หลักการวัดประเมินผลที่มีคุณภาพระดับสูง

การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21st Century Skills) 1. สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ 2. นำผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงการแก้ไขงาน 3. ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4. สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงานของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐาน และมีคุณภาพ

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ (ศตวรรษที่ 21)

ขั้นตอน แนวปฏิบัติ Q: Learn to Question 1. เตรียมหลักสูตร/แหล่งการเรียนรู้ 2. เตรียมบทบาทครู 3. สำรวจชุมชนสร้างแรงบันดาลใจ 4. ระดมความคิดเห็น S: Learn to Search 5. สืบค้น วิเคราะห์ จำแนกข้อมูลให้ถูกต้อง 6. ออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน C: Learn to Construct 7. ลงมือปฏิบัติ - เรียน/ทดลอง/สร้างชิ้นงาน - เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ/ของจริง - แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ขั้นตอน แนวปฏิบัติ C: Learn to Communicate 8. สรุปข้อมูลเพื่อนำเสนอ S: Learn to Service 9. ประยุกต์ต่อยอดองค์ความรู้เพื่อสังคม

ขอบคุณค่ะ