งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2

3 Skills of 21st century learning
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา Critical thinking and problem solving Creativity and innovation Collaboration, teamwork, and leadership Cross-cultural understanding Communication, information, and media Computing and ICT Career and learning self- reliance อ่านออก ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เขียนได้ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ มีความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ คิดเลขเป็น ทักษะการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้

4 COMPETENCIES FOR 21st CENTURY
ความสามารถของคนในศตวรรษที่ 21 ค่านิยมระดับจิตวิญญาณ PERSONAL SPIRIT การคิด THINKING การแก้ปัญหา PROBLEM SOLVING 5 SCORE COMPETENCIES การสื่อสาร COMMUNICATION การทำงานเป็นทีม TEAMWORK

5 ตอบนโยบายประเทศ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ตอบนโยบายประเทศ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

6

7 Thailand 1.0 Thailand 2.0 3.0 4.0 ครูเป็น “ผู้ป้อน” ความรู้
ผู้เรียนสามารถค้นหารวบรวมข้อมูลความรู้ จากสื่อ ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ ผู้เรียนสามารถสร้างนวัตกรรม ครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียนเป็นศูนย์กลาง นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ IT ครูที่เน้นนวัตกรรม

8 PISA วัดความสามารถและทักษะในการนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้ในชีวิตจริงนอกโรงเรียน ซึ่ง PISA ถือว่าเป็นทักษะในการใช้ชีวิต และนิยามว่าเป็นการรู้เรื่อง (Literacy) PISA วัดการรู้เรื่องสามด้าน ได้แก่ การอ่าน (Reading Literacy) คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) สอบนักเรียนอายุ 15 ปี ในโรงเรียน 72 ประเทศ  กลุ่มตัวอย่างประมาณ 540,000 คน จากทั้งหมดประมาณ 29 ล้านคน

9 ประเทศไทย นักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่เข้าสอบ 8,249 คน จากโรงเรียน 273 โรงเรียน ของทุกสังกัด

10 ประเมินภาพรวมของประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่มี คะแนนสูงสุด 5 อันดับในแต่ละด้าน ด้านวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สิงคโปร์ 556 คะแนน, ญี่ปุ่น 538 คะแนน, เอสโตเนีย 534 คะแนน, จีนไทเป 532 คะแนน, ฟินแลนด์ 531 คะแนน ด้านการอ่าน ได้แก่ สิงคโปร์ 535 คะแนน, แคนาดา 527 คะแนน, ฮ่องกง-จีน 527 คะแนน, ฟินแลนด์ 526 คะแนน, ไอร์แลนด์ 521 คะแนน ด้านคณิตศาสตร์ ได้แก่ สิงคโปร์ 564 คะแนน, ฮ่องกง-จีน 548 คะแนน มาเก๊า-จีน 544 คะแนน, จีนไทเป 542 คะแนน, ญี่ปุ่น 532 คะแนน

11 ประเทศไทย PISA 2015 ของประเทศไทยพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยด้านวิทยาศาสตร์ 421/556 คะแนน (135 :5) ด้านการอ่าน 409 /535 คะแนน (126 : 4) และด้านคณิตศาสตร์ 415/564 คะแนน (149 :5) (30 คะแนน : 1 ชั้นปี)

12 กราฟแสดงการเปรียบเทียบกลุ่มนักเรียนที่ได้คะแนนสูง 550 และกลุ่มคะแนนต่ำประมาณ 320 คะแนน

13 Active Learning

14 Active Learning การเรียนรู้แบบลงมือทำ(ปฏิบัติ)
เป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทำซึ่ง “ความรู้” ที่เกิดขึ้นก็เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์  ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ประเมินค่าและความคิดสร้างสรรค์

15 Learning Pyramid 5% 10% 20% 30% 50% 75% 90% 100% ความรู้ที่เหลือ
(Average Retention Rate) ฟังบรรยาย Lecture 5% เห็น จำได้ระยะสั้น อ่านเอง 10% Reading ใช้สื่อและภาพ เสียง 20% Audio - Visual จำตามแบบ ดู สาธิต Passive Learning 30% Demonstration อภิปรายกลุ่ม ทำงานกลุ่ม ทีม ทำงานกลุ่ม ทีม Active Learning 50% Discussion Group สร้างความรู้ เรียนจากลงมือปฏิบัติ 75% Practice by Doing เข้าใจหลังคิด-ทำ สอนผู้อื่น / นำเสนอ เสนอสาธารณะ เสนอสาธารณะ 90% Teach Others / Immediate Use วิจัยค้นคว้า พัฒนาได้เอง วิจัย เข้าใจ รู้แท้ 100% Research & Development

16 Learning Pyramid 5% 10% 20% 30% ความรู้ที่เหลือ
(Average Retention Rate) ฟังบรรยาย Lecture 5% เห็น จำได้ระยะสั้น อ่านเอง Reading 10% ใช้สื่อและภาพ เสียง 20% Audio - Visual จำตามแบบ ดู สาธิต Passive Learning 30% Demonstration Content-based Curriculum หลักสูตรเน้นเนื้อหา ครูเริ่มสอนจากทฤษฎี ให้นักเรียนนำไปใช้ Passive Learning ไม่มีกระบวนการสร้างความรู้ ไม่มีกิจกรรมที่นำสู่ผล ไม่มีร่องรอยหลักฐานพัฒนาผู้เรียน ไม่บรรลุตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นสังคมผู้บริโภคมากกว่าสังคมผู้ผลิต

17 กระบวนการเรียนรู้ 50% 75% 90% 100% Standard-based Curriculum
หลักสูตรเน้นมาตรฐาน เชื่อมโยงศตวรรษที่ 21 นักเรียนเรียนจากการปฏิบัติ ไปสู่การตั้งทฤษฏี Active Learning หลอมรวมเนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด Backward Design ผู้เรียนสร้างความรู้เอง เป็นสังคมผู้ผลิตมากกว่าสังคมผู้บริโภค กระบวนการเรียนรู้ อภิปรายกลุ่ม ทำงานกลุ่ม ทีม ทำงานกลุ่ม ทีม Active Learning 50% Discussion Group สร้างความรู้ เรียนจากลงมือปฏิบัติ 75% Practice by Doing เข้าใจหลังคิด-ทำ สอนผู้อื่น / นำเสนอ เสนอสาธารณะ เสนอสาธารณะ 90% Teach Others / Immediate Use วิจัยค้นคว้า พัฒนาได้เอง วิจัย เข้าใจ รู้แท้ 100% Research & Development

18 สอนตามแนว Backward Design
การปฏิบัติการสอนที่ไม่บรรลุเป้าหมาย เริ่มจาก ทฤษฎี อธิบาย เข้าใจแบบ อ่านเอาเรื่อง ปฏิบัติ ไม่ได้ ออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ ความรู้ ความคิด รวบยอด หลักการ ทฤษฎี เข้าใจจาก หลังคิด หลังทำ ลงมือคิด ลงมือทำ เริ่มจาก ปฏิบัติ

19 Backward Design การเขียนแผนการสอนแบบเดิม OLE
1. เป้าหมาย จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. การวัดประเมินผล การเขียนแผนแบบ Backward Design 1. เป้าหมาย จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด 2. กำหนดชิ้นงาน การวัดประเมินผล 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

20 ประเมินตามแนว Backward Design (BwD)
จำเป็นต้องใช้ชิ้นงาน ผลงานมาประเมิน การแสดงออกของผู้เรียนมาใช้ประเมิน ส่วนการตรวจสอบคุณภาพความรู้ ต้องอาศัยคำอธิบายระดับคุณภาพ หรือมิติคุณภาพโดยใช้เกณฑ์ Rubrics

21 การตั้งคำถามตาม แนวทาง Blooms’ Taxonomy Cognitive Domain

22

23 AL : Practice by Doing ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
Knowledge พุทธิพิสัย จำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สร้างสรรค์ Bloom Attitude จิตพิสัย รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า ปฏิบัติเป็นนิสัย จิตสาธารณะ Krathwohl Process ทักษะพิสัย รับรู้ ทำตามแบบ ยอมรับคำแนะนำ ทำเองโดยธรรมชาติ ทำสิ่งที่ซับซ้อนขึ้น ปรับเข้ากับเหตุการณ์ คิดค้นได้เอง Simpson

24 การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom’s Taxonomy)
1. ระดับความรู้ความจำ (Remember) 2. ระดับความเข้าใจ (Understand) 3. ระดับการนำไปใช้ (Apply) 4. ระดับการวิเคราะห์ (Analyze) 5. ระดับประเมินผล (Evaluate) 6. ระดับสร้างสรรค์ (Create)

25 ตัวอย่าง...ครูสอนแล้วนักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนนักเรียนทำถูก 10 ข้อ แสดงให้เห็นถึง ?
นักเรียนเรียนรู้อะไรจากการทำถูกทั้งหมด ครู วิเคราะห์กิจกรรมว่าอยู่ในขั้นไหน... ลักษณะคำถามประเภทไหน ? จำ เข้าใจ นำไปใช้

26 ระดับความรู้ความจำ (Remember)
: จดจำเนื้อหา ข้อมูล ถ่ายทอดได้เหมือนเดิม บางคนอาจไม่ถึงขั้นนี้ เพราะอาจมาจากการลอกบนกระดาน ลอกคำตอบจากหนังสือเรียน : ครูต้องวิเคราะห์คำถาม เช่น กี่คน เมื่อไร เห็นแล้วลอก....แปลว่ายังไม่ได้จำเลย....

27 ระดับความเข้าใจ (Understand)
: สามารถสรุปข้อมูลสำคัญ แนวคิด หลักการ สรุปเป็นความเข้าใจของตนเอง และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ด้วยภาษาของตนเอง สรุปความนำเสนอหน้าชั้นเรียนได้

28 ระดับการนำไปใช้ (Apply)
นำข้อมูล ความรู้ ความเข้าใจ มาประยุกต์ใช้ในการหาคำตอบของปัญหาใหม่หรือสถานการณ์ใหม่ได้ ตัวอย่าง... ครูคณิตศาสตร์สอนวิชาการเขียนกราฟ แกน X แกน Y ให้นักเรียนค้นหาวิธีการพล็อตกราฟ นำเสนอหน้าห้อง เมื่อนักเรียนเข้าใจครูกำหนดโจทย์ใหม่ ให้ นร.ไปขอข้อมูลตัวเลขจำนวน นร. ย้อนหลัง 10 ปี แล้วนำมาพล็อตกราฟ ดูแนวโน้มนักเรียนในอดีตกับปัจจุบัน

29 ระดับการวิเคราะห์ (Analyze)
การแยกแยะข้อมูล การหาความสัมพันธ์ของข้อมูล การเชื่อมโยง การให้เหตุ – ผล การค้นหา การจัดระบบ ตัวอย่าง... จากการพล็อตกราฟ ให้ นร.คาดการณ์ล่วงหน้าจากกราฟเกี่ยวกับจำนวนนักเรียนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ลดลง ตัวอย่าง... ยกสถานการณ์น้ำท่วม 8 จังหวัดของไทย ให้ นร.ร่วมกันวิเคราะห์ความเสียหาย สาเหตุ เปรียบเทียบ ซึ่งข้อมูลที่ นร.ร่วมกันวิเคราะห์จะไม่ปรากฏในข่าว (เพียงใช้ข่าวเป็นข้อมูล)

30 ระดับประเมินผล (Evaluate)
การให้เหตุผลในการตัดสินใจ ในการกระทำ โดยการตรวจสอบ การตั้งสมมติฐาน การประเมิน การตรวจสอบ แล้วตัดสินใจ ตัวอย่าง...นร.เรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของแรง กำหนดสถานการณ์ ให้ นร.ไปเที่ยวสวนสนุก (เครื่องเล่น โรลเลอร์โคสเตอร์) ให้นักเรียนคำนวณดูว่าเราจะตำแหน่งไหน ที่จะมีแรงเหวี่ยงน้อยที่สุด

31 ระดับสร้างสรรค์ (Create)
ประดิษฐ์สิ่งใหม่ แนวทาง/แนวคิดใหม่ เพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการ ตัวอย่าง...จากสถานการณ์น้ำท่วม หาก นร.อยู่ในจังหวัดที่ไม่ได้ประสบปัญหาแต่มีแนวโน้มความเสี่ยง นร.จะมีวิธีการหรือแนวทางในการป้องกันปัญหาน้ำท่วมในจังหวัดของนักเรียนอย่างไร

32

33

34 2 1 3 4

35 ถ้าคุณยังไม่เห็นหัวคน.....คุณ.....
ถ้าคุณเห็นหัวคนภายใน 25 วินาที สมองซีกขวาของคุณใช้งานบ่อยและสามารถพัฒนาได้เป็นอย่างดี ถ้าคุณเห็นหัวคนภายใน 1 นาที สมองซีกขวาของคุณ ใช้งานตามปกติ ถ้าคุณเห็นหัวคนใช้เวลามากกว่า 1 นาที สมองซีกขวาของคุณ ช้ากว่าปกติ....ต้องได้รับการพัฒนา ถ้าคุณยังไม่เห็นหัวคน.....คุณ.....

36 GPAS 5 STEPS Active Learning
ครอบคลุมวิธีการเรียนการสอนการเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (Discovery Learning) การเรียนรู้จากปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) การเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) โครงงาน (Project Based Learning)…. GPAS 5 STEPS

37 โครงสร้างทักษะกระบวนการคิด
Gathering การรวบรวม คัดเลือกข้อมูล Processing การจัดกระทำข้อมูล Applying การประยุกต์ใช้ความรู้ Self-Regulating การกำกับตนเอง

38 ขั้นการรวบรวมข้อมูล (Gathering)
สังเกต ทดลอง อ่าน ฟัง ถาม พูดคุย ศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม (ข้อมูล)

39 การรวบรวมข้อมูล (Gathering)
กำหนดประเด็นในการรวบรวมข้อมูล (Focusing Skills) กำหนดเป้าหมาย (Goal Setting) สังเกตด้วยประสาทสัมผัส (Observing) รวบรวมข้อมูลจากการสังเกต (Collecting) เลือกข้อมูลมาใช้ (Selecting) บันทึกข้อมูล (Encoding & Recording) ดึงข้อมูลเดิมมาใช้และย่อความ

40 ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้(Processing)
เป็นการสรุปความรู้จากการคิด การจำแนก จัดลำดับ เชื่อมโยงสัมพันธ์ ตัดสินใจ

41 การจัดกระทำข้อมูล (Processing)
จำแนก (discriminating) เปรียบเทียบ (comparing) จัดกลุ่ม (classifying) จัดลำดับ (sequencing) สรุปเชื่อมโยง (connecting) ไตร่ตรองด้วยเหตุผล (reasoning) วิจารณ์ (criticizing) / ตรวจสอบ (verifying)

42 สรุปความรู้จากการกระทำ
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge) สรุปความรู้จากการกระทำ เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลงมือทำจริง สรุปเป็นความรู้ ความคิดรวบยอด แบบแผนหลักการ และนำกระบวนการ ทักษะ และหลักการไปขยายความรู้สู่ท้องถิ่นและสังคม

43 การประยุกต์ใช้ (Applying)
ประเมินทางเลือก (alternative assessment) เลือกทางเลือก (Selecting alternatives) ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (creative) ขยายความรู้ให้รู้จริงมากขึ้น (expanding scenario) การวิเคราะห์ (analysis) การสังเคราะห์ (synthesis) การตัดสินใจ (decision making) การนำความรู้ไปปรับใช้ (transferring) การแก้ปัญหา (problem solving) การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ (critical thinking) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking)

44 ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)
นำร่องรอยการคิด การคิดสร้างสรรค์ที่หลอมรวมคุณธรรม ค่านิยมเชิงบวก ร่องรอยการทำงาน การแก้ปัญหาจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพกว่าเดิม มีคุณค่ามากกว่าเดิม จนสามารถสรุปเป็นหลักการ นำเสนอเป็นรายงาน การอภิปราย การบรรยาย เอกสารเผยแพร่ จัดทำเป็น Video Presentation หรือเผยแพร่ผ่าน Website

45 การประยุกต์ใช้ (Applying) สื่อสารและนำเสนอ
สื่อสารเรื่องราว ขั้นตอนการทำงาน ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยวิธีการสื่อสารด้วยคำพูด หรือประกอบการนำเสนอโดยใช้อุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยี ต่างๆ ตามความเหมาะสม

46 ขั้นประเมินผลเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและ จิตสาธารณะ (Self – Regulating)
เป็นการพัฒนาการเชิงระบบเพื่อให้เห็นจุดอ่อน จุดแข็งของกลไก ทีมงานและตนเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไขและปรับเพิ่มคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ขยายประโยชน์ คุณค่าให้ถึงสังคมทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ความเป็นพลเมือง ความเป็นพลโลก

47 การกำกับตนเอง (Self-regulating)
การตรวจสอบและควบคุมการคิด (Meta Cognition) การสร้างค่านิยมการคิด (Thinking Value) การสร้างนิสัยการคิด (Thinking Disposition) ประโยชน์ต่อตนเอง ประโยชน์ต่อสังคม ประโยชน์ต่อชุมชน ประโยชน์ต่อประเทศชาติ / โลก

48 48 48 48

49

50 Gathering Processing Applying Self -regulating

51 2 Explore Think 1 3 Unit Plan /ETIA Investigate Act 4

52 กิจกรรมขั้น เก็บข้อมูล/ค้นคว้าGathering/Explore
1.กำหนดเป้าหมาย 2.ใช้ประสาทสัมผัสผสานกระบวนการกลุ่มร่วมเรียนรู้ อ่าน สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ฟัง ดูตัวอย่าง ชมการสาธิต นิทรรศการ ทดลอง ฯลฯ 3.เลือกข้อมูลสำคัญ สอดคล้องเป้าหมาย 4.บันทึกเป็นผังกราฟิก

53 กิจกรรมขั้นจัดกระทำข้อมูล/คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ Processing/critical Thinking
จำแนก (discriminating) เปรียบเทียบ (comparing) จัดกลุ่ม (classifying) จัดลำดับ (sequencing) สรุปเชื่อมโยง(connecting) ไตร่ตรองด้วยเหตุผล (reasoning) วิจารณ์ (criticizing) ตรวจสอบ (verifying) ถามให้คิดวิเคราะห์ อภิปราย แสดงความคิดเห็น สร้างข้อสรุป ความคิดรวบยอด หลักการ

54 กิจกรรมขั้นปะยุกต์ใช้(วางแผนปฏิบัติ) Applying 1/Investigate
ถามให้คิดเชิงเหตุผล ผลกระทบ คิดเป็นระบบ คิดตัดสินคุณค่า ประเมิน ตัดสินใจ การกำหนดปัญหา การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินทางเลือก เลือกทางเลือก การตัดสินใจ การสังเคราะห์ ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์

55 กิจกรรมขั้นประยุกต์ใช้(ลงมือปฏิบัติ) Applying 2/ACT
เข้าใจแบบ ทำตามแบบ ทำเองเทียบกับแบบ ฝึกให้ชำนาญ ทำเป็นนิสัย สังเคราะห์ ปรับปรุงแบบ สร้างสรรค์ใหม่ การนำความรู้ไปปรับใช้ (transferring) การแก้ปัญหา (problem solving) ขยายความรู้ให้รู้จริงมากขึ้น (expanding scenario) การคิดสร้างสรรค์ (creative thinking)

56 การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (social service activity)
กิจกรรมขั้นประเมินเพิ่มคุณค่า Self-Regulating การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (social service activity)

57 การจัดหน่วยการเรียน บูรณาการกับวิถีชีวิต บูรณาการหลายกลุ่มสาระ
บูรณาการระหว่างสองกลุ่มสาระ หลายสาระในกลุ่มสาระเดียวกัน หน่วยการเรียนที่มีเฉพาะสาระเดียว

58 ความสัมพันธ์ของสาระการเรียนรู้และหน่วยการเรียน
สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต 1 ชีวิตพืชและสัตว์ สิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต สิ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโต - การตอบสนองต่อสิ่งเร้า 3 เราเติบโตได้อย่างไร ร่างการของเราเตอบโต ได้อย่างไร อาหารที่เรารับประทาน การตอบสนองต่อสิ่งเร้า สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สาระที่ 3 : สารและสมบัติของสาร 2. ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ ดินมีประโยชน์อย่างไร มาปลูกต้นไม้กันเถอะ ดูแลสัตว์เลี้ยง 4 ของเล่นของใช้ ของเล่นของใช้ทำด้วยอะไร ของเล่นของใช้มีประโยชน์ อย่างไร ประดิษฐ์ของเล่นของใช้ สาระที่ 4 : แรงและการเคลื่อนที่ สาระที่ 5 : พลังงาน สาระที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 5 สนุกกับแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กมีพลัง พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย สาระที่ 7 : ดาราศาสตร์และอวกาศ สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

59 กระบวนการเรียนการสอนการงานอาชีพGpas
Gathering สืบสานเรียนรู้คู่ คุณธรรม ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ตรวจประเมินค่าผลงาน เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating ผลิตภัณฑ์ ล้ำหน้า วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

60 กระบวนการเรียนการสอนทัศนศิลป์ Gpas
Gathering สืบสานเรียนรู้คู่ คุณธรรม ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ตรวจประเมินค่าผลงาน เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating ผลิตภัณฑ์ ล้ำหน้า วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

61 Gpas กับ ความเข้าใจ/คิดคำนวณ/แก้โจทย์ปัญหา
Gathering ผสมผสาน ให้เหมาะเจาะ เฉพาะตน ทบทวนความรู้เดิม Processing ประเมินผลความรู้วิธีการ เพิ่มเติมความรู้ใหม่ Applying S G Self -regulating ฝึกฝนซ้ำสร้างทักษะ คิดวิเคราะห์ความเข้าใจ A P พัฒนา ความเข้าใจ ให้ลงมือทำ Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. ได้หลักคิด วิธีปฏิบัติ

62 กระบวนการเรียนการสอนสุขศึกษา Gpas
Gathering ผดุงสุขภาพ ยืนนาน ศึกษารวบรวมข้อมูล Processing ประเมินซ้ำปรับปรุง เพิ่มพูนประสบการณ์ Applying S G Self -regulating มุ่งมั่นลงมือทำ วิเคราะห์งาน ถ้วนถี่ A P Group-process Co-operative Value-clarification Sufficiency Econ. จัดแผนงานสร้างสรรค์ มีข้อสรุป หลักปฏิบัติ

63 ( Research and Knowledge Formation )
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS ) IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ( Research and Knowledge Formation ) Gathering 5 STEPS :

64 1 ๑. ๒. ๓. ๔. เริ่มจากคำถามให้สังเกต สงสัย
Gathering 5 STEPS : 1 ๑. เริ่มจากคำถามให้สังเกต สงสัย ๒. เริ่มจากคำถาม กระตุ้นความสนใจ ๓. เริ่มจากคำถาม ให้ตระหนักในปัญหา ๔. ส่งผลให้ผู้เรียนตั้งข้อสงสัย มีเหตุผล

65 ๕. ๖. ๗. ๘. ส่งผลให้เกิดการ ตั้งสมติฐาน สร้างประสบการณ์รวบรวมข้อมูล
ความสามารถในการคัดเลือกข้อมูล ๘. ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล

66 2 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ขั้นคิดวิเคราะห์ : แผนภาพความคิด
5 STEPS : Processing ๑. ขั้นคิดวิเคราะห์ : แผนภาพความคิด ๒. ขั้นคิดสังเคราะห์ : แผนภาพความคิด ๓. คิดเพิ่มคุณธรรมอย่างมีเหตุผล ๔. คิดเพิ่มจริยธรรมอย่างมีเหตุผล ๕. คิดเพิ่มค่านิยมอย่างมีเหตุผล

67 ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คิดสร้างสรรค์ พัฒนาให้ดีกว่าเดิม คิดออกแบบหลาย ๆ แบบ
คิดสร้างทางเลือกแนวปฏิบัติ ๙. คิดตัดสินใจเลือกแนวที่นำสู่ผล ๑๐. คิดสู่การวางแผน เพื่อลงมือทำ

68 3 ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ขั้นวางแผนจัดลำดับขั้นตอนงาน ลงมือทำตามแผน
5 STEPS : Applying ๑. ขั้นวางแผนจัดลำดับขั้นตอนงาน ๒. ลงมือทำตามแผน ๓. ตรวจสอบทุกขั้นตอน แก้ปัญหา ๔. ปรับปรุง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๕. สร้างเป็นความรู้จากผลผลิต

69 ๖. ๗. ๘. ๙. พัฒนาต่อเนื่องเป็นนวัตกรรม สรุปเป็นความคิดรวบยอด
สร้างเป็นหลักการ สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๖. ๗. ๘. ๙.

70 4 มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ อันเกิดจากกระบวนการมานำเสนอ
Applying 5 STEPS : 4 มุ่งให้ผู้เรียนนำความรู้ อันเกิดจากกระบวนการมานำเสนอ นำเสนอจาก After Action Review พัฒนาวิธีการถ่ายทอดจากแบบแผน สื่อสารจากสิ่งที่เข้าใจ สื่อสารจากสิ่งที่มีความหมาย

71 IS2 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4 (Independent Study : IS )
การสื่อสารและการนำเสนอ ( Communication and Presentation ) Applying 5 STEPS : 4

72 เห็นภาพตลอดแนว ๑. จากข้อมูลสู่การคิด ๒. จากการคิดสู่การเพิ่มความดีงาม
จากการคิดสู่การปฏิบัติ จากการปฏิบัติสู่ผล เห็นการพัฒนา ๑. ๒. ๓. ๔.

73 มีเทคนิคการนำเสนอหลากหลายรูปแบบ
การทำรายงาน อภิปราย นำเสนอ ทำ Power point , VDO Presentation ต้องเหมาะสมกับกลุ่ม อย่างมีประสิทธิภาพ ๑. ๒. ๓.

74 IS3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 5 (Independent Study : IS )
การนำองค์ความไปใช้บริการสังคม ( Social Service Activity ) Self-Regulating 5 STEPS : 5

75 5 มุ่งให้นำหลักการหรือองค์ความรู้ ๑. ขยายความรู้ไปสู่สังคม ท้องถิ่น ๒.
5 STEPS : Self-Regulating มุ่งให้นำหลักการหรือองค์ความรู้ ๑. ขยายความรู้ไปสู่สังคม ท้องถิ่น ๒. ขยายความรู้ไปสู่ระดับประเทศ ๓. ขยายไปสู่สังคมนา ๆ ประเทศ

76 เป็นองค์ความรู้ที่มีหลักการ
การคิดอย่างมีคุณธรรม ค่านิยม การตัดสินใจมี mind map การปฏิบัติประโยชน์ถึงสังคม ๑. ๒. ๓.

77 ตกผลึกเป็นจิตสาธารณะ
(Public Service) จิตอาสา เสียสละเพื่อสังคม รักษ์ธรรมชาติ เพื่อเศรษฐกิจ โลก ๑. ๒. ๓.

78 ๑. ๒. ๓. ๔. มิติการคิดวิเคราะห์ + ค่านิยม มิติคุณธรรม + ค่านิยม
5 STEPS : Rubrics ๑. มิติการคิดวิเคราะห์ + ค่านิยม ๒. มิติคุณธรรม + ค่านิยม ๓. มิติจริยธรรม + ค่านิยม ๔. มิติทักษะ กระบวนการ + ค่านิยม


ดาวน์โหลด ppt Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google