งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘

2 อบรมผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อเป็นผู้นำทางวิชาการด้าน
สะเต็มศึกษา จำนวน ๑๑๕ โรง อบรมครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๑ และช่วงชั้นที่ ๒ อบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ อบรมครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๔ ประโยชน์ที่ได้ ผู้อบรมได้รับความรู้ แนวคิด เพื่อนำไปสู่การเรียนที่ เข้าใจง่ายขึ้น บูรณาการการสอน พัฒนาการเรียนการสอน สร้างสื่อการเรียนการสอน เกิดแรงจูงใจในการทำงาน แบบใหม่ มีทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะการนำเสนอ

3 ข้อเสนอแนะที่ได้จากที่อบรม
การทดลองทำงานกลุ่มไม่ควรมีสมาชิกมาก เพิ่มระยะเวลาในการอบรมมากขึ้น วิทยากรนำเสนอแบบใหม่ ๆ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองควรให้ผู้อบรมได้ใช้ต่อไป อบรมอย่างต่อเนื่อง อบรมแต่ละชั้นเรียน เพิ่มเนื้อหาในกลุ่มสาระวิชาอื่น ๆ ติดตามผลและประเมินผล

4 หลักสูตรที่ต้องการให้จัดอบรม
การผลิตสื่อ CAI สะเต็มระดับปฐมวัย การเขียนแผน/ออกแบบ กิจกรรมบุรณาการ การวัดและประเมินผลจากกิจกรรม หลักสูตรการสร้างสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี เทคนิคการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมอัจฉริยะภาพทางวิทย์-คณิต การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑

5 สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙

6 ประชุมชี้แจงผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช
ประชุมชี้แจงผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. จำนวน ๑๑๘ โรง การพัฒนา ครูวิทย์ คณิต เทคโน ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๑ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๒ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนผู้ช่วยครูและครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ ค่ายสะเต็มศึกษาสำหรับนักเรียนผู้ช่วยครูและครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา ช่วงชั้นที่ ๔ อบรมด้านคอมพิวเตอร์ (โปรแกรม SCRATCH) ครูผู้นำด้านสะเต็มศึกษา

7 ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถนำไปใช้ในและพัฒนาการเรียน การสอน การวัดประเมินผลนักเรียน เกิดแรงจูงใจ มีมุมมองใหม่ ๆ การขยายผลให้ครูผู้สอน นำไป/คิดต่อยอด ในกิจกรรม เกิดกระบวนการวางแผน มีทักษะการคิดวิเคราะห์ วางแผนค่ายสะเต็มได้ คิดสร้างสรรค์ผลงาน แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ ขยายผลและเผยแพร่ได้จริง

8 ข้อเสนอแนะที่ได้จากที่อบรม
อบรมครูต้นแบบให้เข้มขึ้น บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ อบรมผู้บริหารโรงเรียนร่วมด้วย จัดค่ายสะเต็มอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์สะเต็มศึกษาของครูผู้นำ ให้ครูกับนักเรียนได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ควรมีตัวอย่างกิจกรรมสะเต็มที่ได้รวบรวมไว้เพื่อเป็นตัวอย่าง

9 หลักสูตรที่ต้องการให้จัดอบรม
นวัตกรรมและสื่อการสอน อบรมวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ๔ mat ออกแบบการจัดการเรียนรู้กิจกรรมสะเต็มสึกษา วัดประเมินผลตามสภาพจริง โครงงานแบบนวัตกรรมเน้นอุปกรณ์ การสร้าง Animation ด้วยโปรแกรมต่าง ๆ โปรแกรมเชิงวิศวกรรม การเขียนวงจรหุ่นยนต์ การผลิตสื่อการสอนที่มีอยู่ในท้องถิ่น

10 การประชุมเพื่อติดตามผลและการให้ความคิดเห็นต่อการพัฒนา

11 การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
ผู้บริหารโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. ครูผู้สอนโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช. นักเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษาสมทบ สช.

12

13

14

15 แนวทางการขับเคลื่อนสะเต็มที่จะดำเนินการต่อไป
การตั้งศูนย์สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน Stem Private school (SPS) เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนสื่อและการดูแลจากศูนย์ชาติต่อไป การพัฒนาครูเพื่อให้เป็น Stem teacher ไปสู่การประเมินครูผู้นำของ สช. ที่จะเป็น Logo trainer E2 Stem เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน การวิจัยในชั้นเรียน อบรมนักเรียนผู้ช่วยครู วิทยาศาสตร์พื้นฐาน การประกาศให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนเครือข่าย Stem education ในสังกัด สช.

16 แนวทางการขับเคลื่อนสะเต็มที่จะดำเนินการต่อไป (ต่อ)
ประกาศชื่อ รร. เป็นศูนย์สะเต็มศึกษา พัฒนาครูแกนนำ คัดเลือกครูผู้นำของ สช. สร้างนักเรียนให้ผลิต Stem Project โดยใช้สื่อ Electronic และ Apication

17 นิยาม “สะเต็มศึกษา” คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษาในสถานศึกษา
สะเต็มศึกษา เป็นแนวทางการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชื่อมโยงและแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑

18 คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ได้กำหนดขั้นตอนของกิจกรรมของการเรียนรู้ ๖ ขั้นตอนในรูปแบบของสะเต็มศึกษา
ขั้นตอนที่ ๑ ระบุปัญหาในชีวิตจริง/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นตอนที่ ๒ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ฃั้นตอนที่ ๓ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Science+Math & technology) ขั้นตอนที่ ๔ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (Engineering) ขั้นตอนที่ ๕ ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง (Engineering) ขั้นตอนที่ ๖ นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวัตกรรม

19 นโยบายระดับชาติ กำหนดให้การพัฒนาสะเต็มศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ (Stem Education as the National Agenda) เพื่อพัฒนาคนไทยมีทักษะด้านสะเต็มขั้นพื้นฐาน เป็นกำลังคนที่มีคุณภาพและศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม กำหนดเป้าประสงค์หลักของการพัฒนาสะเต็มศึกษาให้เป็นการเตรียมกำลังคนที่มีคุณภาพของประเทศไทย และการสร้างสังคมไทยให้มีวิธีคิด วิถีชีวิตแบบวิทยาศาสตร์ ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ประเทศ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการศึกษาจากการทดสอบความรู้/ความจำ มาเป็นการศึกษาเชิงผลลัพธ์ในทุกระดับการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงอุดมศึกษา

20 นโยบายระดับชาติ (ต่อ)
๔. กำหนดให้มีคณะกรรมการสะเต็มศึกษาแห่งชาติ ที่จะรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาสะเต็มศึกษา มีการจัดทำแผนการปฏิรูป หรือ Roadmap การพัฒนาสะเต็มศึกษา และมีการกำหนดงบประมาณสนับสนุน แผนปฏิบัติงาน และระยะเวลาที่ชัดเจน เพื่อให้ภาพการปรับเปลี่ยนและขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาของประเทศมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google