งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
วันพุธ ที่ 9 พฤษภาคม 2561 ณ ห้องประชุมราชนครินทร์

2 สภามหาวิทยาลัย: (การศึกษา 4.0) รูปแบบการจัดการเรียนรู้
เชิงผลิตภาพ หลักสูตร Productive Learning ทีมวิจัย

3 1.สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning 2. ประชุมหลักสูตรและจัดทำร่างหลักสูตรตาม Template ที่กำหนดให้ 3. นำเสนอร่างหลักสูตรในวันที่ 5-6 มิถุนายน 2561

4 Template หลักสูตรแบบ Productive Learning
หน้าที่ 1 ชื่อหลักสูตรและจุดเด่นของหลักสูตร หน้าที่ 2 ข้อมูลของหลักสูตร หน้าที่ 3 ปัจจัยนำเข้า (Input) หน้าที่ 4 Model ของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ Productive Learning หน้าที่ 5 สมรรถนะของนักศึกษาแต่ละชั้นปี ภาพรวม และการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา หน้าที่ 6 การประเมินสมรรถนะของบัณฑิต Template หลักสูตรแบบ Productive Learning

5 นิยามของการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive-Based Learning)
ผู้เรียนสร้างผลงาน สร้างผลผลิต สร้างองค์ความรู้จากการเรียนรู้

6 หน้าที่ 1 ชื่อหลักสูตรและจุดเด่นของหลักสูตร
หน้าที่ 1 ชื่อหลักสูตรและจุดเด่นของหลักสูตร

7 หน้าที่ 2 ข้อมูลของหลักสูตร
หน้าที่ 2 ข้อมูลของหลักสูตร

8 หน้าที่ 3 ปัจจัยนำเข้า (Input)

9 หน้าที่ 4 Model ของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ Productive Learning

10 นโยบายชาติ สู่ การศึกษา 4.0 นโยบาย Nation of Makers
สร้างผู้ผลิต สร้างงาน สร้างธุรกิจใหม่ ผ่านการเรียนรู้ STEM Barack OBAMA นโยบาย Design in Innovation พัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ส่งเสริมเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรม United Kingdom นโยบาย MADE IN CHINA ยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย China นโยบาย Smart Nation "ชาติอัจฉริยะ" Singapore เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม Value-Based Economy ประเทศไทย 4.0 ดร สุวิทย์ เมษินทรีย์

11 VRU CREATIVE AND PRODUCTIVE EDUCATION
การศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพCCPR Model ศ ดร ไพฑูรย์ สินลารัตน์ การเรียนรู้แบบสรรคนิยม Constructivism Lev Vygotsky นวัตกรรมรับใช้สังคม Service Learning Thammasat University การสร้างองค์ความรู้ด้วตนเอง Constructionism Seymour Papert แนวคิด สร้าง-วัดผล-เรียนรู้ = CDIO (Conceive Design Implement Operate) Massachusetts Institute of Technology ห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom Bergmann and Sams เข้าใจ-ออกแบบ-สร้าง-ดำเนินงานต่อ แนวทางการสอนแบบ CDIO ด้านวิศวกรรมศาสตร์ รศ ดร อังคีร์ ศรีภคากร CDIO-Based Education RMUTT

12 ระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพวไลยอลงกรณ์สำหรับการศึกษายุค 4.0

13 Model ของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ Productive Learning
ระยะการพัฒนาผลงาน การดำเนินการ (1) ระยะก่อนพัฒนาผลงาน (Pre-Production Phase) 1. ระบุผลงาน ผลผลิต หรือชิ้นงานเชิงประจักษ์ และกำหนดผู้ใช้ผลงาน 2. ระบุวิธีการได้มาซึ่งผลงาน เช่น การศึกษาในชุมชน การสัมภาษณ์ เป็นต้น (2) ระยะพัฒนาผลงาน (Production Phase) 1. ระบุวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับรายวิชา 2. ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้

14 ระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพวไลยอลงกรณ์สำหรับการศึกษายุค 4.0

15 Model ของหลักสูตรที่สอดคล้องกับ Productive Learning (ต่อ)
ระยะการพัฒนาผลงาน การดำเนินการ (3) ระยะหลังพัฒนาผลงาน (Post- Production Phase) 1. ระบุวิธีการประเมินผลงาน 2. ระบุผู้ร่วมประเมินผลงาน (4) ระยะเผยแพร่ และการนำไปใช้ประโยชน์ (Publication/Commercialization Phase) 1. ระบุรูปแบบการเผยแพร่และการใช้ประโยชน์ เช่น การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะ เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ เชิงพื้นที่ และเชิงวิชาการ

16 ระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพวไลยอลงกรณ์สำหรับการศึกษายุค 4.0

17 หน้าที่ 5 สมรรถนะของนักศึกษาแต่ละชั้นปี ภาพรวม และการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา

18 ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะของนักศึกษาแต่ละชั้นปี ภาพรวม และการประกอบอาชีพเมื่อสำเร็จการศึกษา หลักสูตรระบุสมรรถนะ (ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านคุณลักษณะ) รายวิชา กิจกรรม และผลผลิตที่เกิดขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ระดับชั้นปี ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สมรรถนะ รายวิชา กิจกรรม ผลผลิต ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ 1 1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 2. ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 3. ทักษะชีวิต และอาชีพ ** สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้ ให้ระบุข้อมูลของนักศึกษาแต่ละชั้นปี (1-5) และบัณฑิตของหลักสูตร

19 หน้าที่ 6 การประเมินสมรรถนะของบัณฑิต
หน้าที่ 6 การประเมินสมรรถนะของบัณฑิต

20 การประเมินสมรรถนะของบัณฑิต
หลักสูตรระบุสมรรถนะ (ด้านความรู้-ด้านทักษะ-ด้านคุณลักษณะ) และเขียนวิธีการประเมินในแต่ละสมรรถนะ ระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของหลักสูตร ชั้นปี สมรรถนะ วิธีการประเมิน 1 2 3 4 5 บัณฑิต

21 การประเมินผลงาน/ชิ้นงาน/นวัตกรรม

22 ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล
สมรรถนะ ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล ด้านความรู้ ตัวอย่าง • มีความรู้ ความเข้าใจ (ในเนื้อหาวิชาที่เรียน) • วิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ •ใช้ความรู้ ความเข้าใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ ในการแก้ปัญหา -การวัดและประมินด้วยแบบทดสอบ (แบบทดสอบเขียนตอบ/แบบทดสอบเลือกตอบ) -การใช้คำถาม -การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เป็นการวัดประเมินจากภาคปฏิบัติ (Performance) /กระบวนการเรียนรู้ (Process) /ผลผลิต (Products) -การสอบปากเปล่า -การเขียนสะท้อนการเรียนรู้ (Journals)

23 ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล (ต่อ)
สมรรถนะ ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล ด้านทักษะ/ความสามารถ ตัวอย่าง • สามารถสื่อสารทั้งการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขและใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิต -การวัดและประมินด้วยแบบทดสอบ (แบบทดสอบปฏิบัติจริง) -การสังเกตพฤติกรรม -การใช้คำถาม -การประมินจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) -การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)

24 ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล (ต่อ)
สมรรถนะ ตัวอย่างวิธีการวัดประเมินผล ด้านคุณลักษณะ ตัวอย่าง • มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ ส่วนรวม/สังคม • มีความสามารถปรับตนท่ามกลางความ ขัดแย้งทางค่านิยม • มีการพัฒนานิสัยและปฏิบัติตนตามศีลธรรม • มีการแสดงถึงภาวะผู้นำ • มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล • มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม -การสังเกตพฤติกรรม -การสัมภาษณ์ -การพูดคุย -การใช้คำถาม -การประมินจากการปฏิบัติ (Performance Assessment) -การประเมินด้านความรู้สึกนึกคิด

25

26


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google